นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 23
฿100.00
◙ เรื่องเด่น
– หลวงพระบาง : จากรัฐจารีตสู่ทุนนิยมการท่องเที่ยว โดย จารุวรรณ ธรรมวัตร
– กุดทิง มดลูกแห่งแม่นํ้าโขง โดย ปรินทร์ จิระภัทรศิลป
– แก้ปัญหา “ข้าวค้างสต๊อค” โดย ศุภกิจ นิมมานนรเทพ
– ประเพณีเดือนสี่ กลอนลำฮีต-คอง โดย สุนทร ชัยรุ่งเรือง
สินค้าหมดแล้ว
รายละเอียด
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๒๓
ปีที่ ๒ เดือนมีนาคม ๒๕๕๗
ฉบับ “หลวงพระบางเมืองโบราณ”
◙ เรื่องเด่น
– หลวงพระบาง : จากรัฐจารีตสู่ทุนนิยมการท่องเที่ยว โดย จารุวรรณ ธรรมวัตร
– กุดทิง มดลูกแห่งแม่นํ้าโขง โดย ปรินทร์ จิระภัทรศิลป
– แก้ปัญหา “ข้าวค้างสต๊อค” โดย ศุภกิจ นิมมานนรเทพ
– ประเพณีเดือนสี่ กลอนลำฮีต-คอง โดย สุนทร ชัยรุ่งเรือง
◙ เนื้อหาภายในเล่ม
๓ สาส์นจาก “ทางอีศาน” ประกวดกลอนประกอบภาพ “ดอกจาน” กับ “ทางอีศาน” หัวข้อ “ดอกจานในบทกลอน อาภรณ์แห่งทุ่งแล้ง”
๗ บทบรรณาธิการ อู่นํ้าแอ่งอารยธรรม
๘ จดหมาย | “วัตรวาณี”, “Sang Puriso”
๑๒ กวีเสกศิลป์แม่นํ้าร้อยสาย | ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ทนง โคตรชมภู
๑๓ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน
๒๐ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน” คอร์รัปชั่นทำให้ชีวิตคุณดีขึ้นจริงหรือ ?
๒๒ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค” สงคราม
๒๕ เรื่องจากปก | เขียนโดย : บุนเร็ง บัวสีแสงปะเสิด ถ่ายคำโดย : ทองแถม นาถจำนง หลวงพระบาง เมืองโบราณ
๒๙ ใจอีศาน | จารุวรรณ ธรรมวัตร หลวงพระบาง : จากรัฐจารีตสู่ทุนนิยมการท่องเที่ยว
๓๙ เรื่องจากปก (เรื่องต่อเนื่องจากปกฉบับที่ ๒๒) | ชาญณรงค์ วงศ์ลา แม่นํ้าโขงสายนํ้าแห่งชีวิต : อิสระแม่นํ้าโขง (ตอน ๒)
๕๐ สารคดีรางวัล โครงการสื่อศิลป์ฯ | ปรินทร์ จิระภัทรศิลป กุดทิง มดลูกแห่งแม่นํ้าโขง
๖๓ บทกวี | “เดือนดวงเดิม” หันหน้าหารือคือร่วมมิตร
๖๔ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ไพรพิหาร
๖๕ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย” รุ่มรวยนามเพรียกขาน ลึกลํ้าตำนานแม่นํ้าโขง (ตอนจบ)
๗๐ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์ งานศพ ในชาติพันธุ์อีศาน
๗๔ เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง ขุมทรัพย์ใต้แผ่นดินที่อีสาน : กลับกลายเป็นวิบากกรรมที่ซํ้าเติม
๘๒ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” ดองกะเม็ด – ดองกำเบ็ต
๘๕ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๘๖ บ้านเขาเมืองเรา | สนั่น ชูสกุล ห้องเรียนชีวิตของชาวนานํ้าอ้อม เมื่อคนไล่ล่าความฝันกลับคืนสู่รากเหง้า
๙๔ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๙๖ ในเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง แกะรอยเสือ
๙๘ กลอนลำฮีต-คอง | สุนทร ชัยรุ่งเรือง ประเพณีเดือนสี่
๑๐๐ บทความพิเศษ | ศุภกิจ นิมมานนรเทพ แก้ปัญหา“ข้าวค้างสต๊อค”อย่างไร ประเทศชาติจึงจะไม่เสียหายซํ้าอีก ?
๑๐๔ หมออีศาน | ศ.นพ. อมร เปรมกมล ลมเข้าข้อ ลมจับโป่ง ข้อพอก เก๊าต์
๑๐๖ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง ธรรมจักรอีสานสมัยทวารวดี
๑๐๘ รากเมือง | กาย อินทรโสภา เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๖)
๑๑๒ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ คนอีสาน
๑๑๕ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร)
๑๑๙ โลกนิติคำกาพย์ภาษาลาว | กอง บก. บทร้อยกรองของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจฺนโท จันทร์) พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๗๕
๑๒๐ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์” สองฝั่งของ
๑๒๔ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา สนธิ สมมาตร, แคร์ด้วยหรือ “แต๋ว”
๑๓๐ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ห. หีบ
๑๓๒ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ กาบแก้วบัวบาน (ตอน ๒๓)
๑๔๐ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ สาวผู้ไทในนอร์เวย์ (๒)
๑๔๖ เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | “ปกรณ์ ปกีรณัม” เหมือนหนึ่งนกที่จากรัง
๑๔๘ เที่ยวทั่วทีป | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม กาเหยียบช้าง
๑๕๐ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล โขงนทีสีทันดร ตอน ๒ จากหิมาลัยสู่สิบสองปันนา
๑๕๔ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์” เลือกสีเพื่อสร้างสรรค์
๑๕๙ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์ พงษ์ศักดิ์ แซงราชา – “ช่างเขียว”
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.
พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย