อู่อารยธรรมอีสาน “อุบลราชธานี” เมืองนักปราชญ์
อุบลราชธานี มีสมญานาม “เมืองนักปราชญ์” (Ubon Ratchathani – Mueang Nakbpraat) มาแต่ครั้งบรรพกาล นามนี้เป็นที่กล่าวขานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ.๒๔๕๓ – ๒๔๖๘) และมีเพียงเมืองอุบลราชธานี เมืองเดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่ได้รับสมญานามนี้ซึ่งจะเห็นว่าเดิมมีการกล่าวว่า “คนอุบลฯ เป็นปราชญ์” ชี้เฉพาะระดับบุคคลเท่านั้น
ตํานานพื้นบ้านในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์สองฝั่งโขง (๒)
ตํานานฝ่ายเมืองที่บันทึกความสํานึกของชาวอีสานและล้านช้างที่เข้าใจความเป็นมาของเผ่าพันธุ์ การสร้างสรรพสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล ตํานานของอีสานและล้านช้างที่ให้ทัศนะเด่นชัด ในเนื้อหาดังกล่าวที่เด่น ๆ มี๔ เรื่องด้วยกัน (อาจจะมีมากกว่านี้แต่ยังสํารวจไม่พบ) คือ (๑) ปฐมมูล (๒) ปฐมกัป หรือตํานานเจ้าแม่โพสพ (๓) นิทานเรื่องขุนบรม (๔) มหากาพย์เรื่องท้าวฮุ่ง (พระยาเจื๋อง)
ตำนานพื้นบ้านในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์สองฝั่งโขง
เรื่องราวของหลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทยเป็นเรื่องกว้างน่าสนใจ และมีสิ่งใหม่ ๆ เกิดขึ้นอยู่เกือบตลอดเวลา ทั้งนี้เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีหลากหลาย กระจัดกระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ และไม่มีความสมบูรณ์ในตัวของตัวเองอย่างไรก็ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ก็มีความสําคัญยิ่งในฐานะที่เป็นประทีปส่องสว่าง ช่วยให้มนุษย์สามารถประเมินความเป็นจริงของพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ในอดีตได้ใกล้เคียงที่สุด
สภาพเศรษฐกิจและการเมืองอีสานในห้วง ๒๔๗๕
ในอดีต ชาวอีสานส่วนใหญ่มีอาชีพทําเกษตรกรรม และมีหน้าที่ตามพันธะของการควบคุมคนในระบบไพร่ ทําให้ต้องทํางานรับใช้มูลนายหรือส่งสิ่งของในท้องถิ่นเป็นส่วยเพื่อทดแทนการทํางาน จึงอาจกล่าวได้ว่า สภาพเศรษฐกิจอีสานก่อนมีทางรถไฟเป็นเศรษฐกิจแบบยังชีพหรือพึ่งตนเอง
“เจนละ” ชนะ “ฟูนัน” ยํ่าปราสาทวัดพู จำปาศักดิ์ ต้นกำเนิดอาณาจักรเจนละ
ก่อนจะกล่าวถึงจารึกซึ่งเป็นต้นเค้าประวัติศาสตร์นิพนธ์เมืองอุบลราชธานีใน ทางอีศาน ฉบับต่อ ๆ ไป ผู้เขียนขอวกกลับมาขยายความเรื่องปราสาทวัดพู แขวงจำปาศักดิ์ สปป.ลาว เพิ่มเติม ที่ถูกสร้างขึ้นภายหลังเจนละรบชนะฟูนัน เนื่องด้วยผู้เขียนได้ข้อมูลจากนักวิชาการชาวไทยและต่างชาติเพิ่มเติมในคราวค้นคว้าเรียบเรียงเรื่องจารึกพระเจ้าจิตรเสนฯ
“มา นา เด้อ” : ร้านกาแฟเทรนใหม่ชานเมืองดอกบัว
มาเด้อ มาจิบกาแฟกลางทุ่งนากันเด้อ! คำเชิญชวนจากมิตรสหายของผู้เขียนหลายครั้งผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทีแรกผู้เขียนก็อดสงสัยไม่ได้ว่า “ไปทานกาแฟอะไรกันที่กลางทุ่งนา ทำไมไม่ทานในห้องแอร์เย็น ๆ เหมือนที่คนในสังคมเมืองเขาทำกัน” แต่พอมาถึง ความคิดของผู้เขียนกลับเปลี่ยนไปในทันที กลิ่นดินและโคลน สาบควายที่หลายคนคิดถึง ในวันนี้บรรยากาศเหล่านั้นได้กลายมาเป็นคาเฟ่สุดชิคที่มีบรรยากาศชวนให้คิดถึงในวัยเด็กกันแล้ว
การศึกษา “ประวัติศาสตร์ไทย” จาก “ข้อมูลลายลักษณ์” สู่ “เวทีการแสดง” ของนักศึกษาวิชาชีพครู
การทำงานละครในครั้งนี้ อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาเป็นเจ้าของงานอย่างแท้จริง โดยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนการสอน รวมถึงค่ายละครมาใช้ทำงานจริง
จาก “บารายปราสาทสระกำแพงน้อย” ในแผ่นดินศรีชยวรมัน สู่ “แหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒” ในแผ่นดินพระทรงธรรม
ในวัฒนธรรมไทยปัจจุบัน พระราชประเพณีการสืบราชสมบัติมีการทำให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยกฎมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พุทธศักราช ๒๔๖๗ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง “สมมติ” เจ้านายพระองค์ใดเป็นรัชทายาทได้
ตามรอย “พ่อหลวงรัชกาลที่ ๙” และ “แม่ของคนไทย” บนผืนป่าต้นน้ำและสายธารน้ำตกใน “โรงเรียนห้วยสวายวิทยา”
“ค่ายศิลป์รักษ์ป่า” (ห้วยสวาย) จัดขึ้นโดยสาขาสาธารณชุมชน วิทยาศาสตร์การอาหาร ชมรมศิลป์สัมพันธ์ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม