By

ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ

แซ่บนัว หัวม่วน

เป็นที่เชื่อถือกันมาช้านานว่าปัจจัยสี่อันประกอบด้วย อาหาร ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย และเครื่องนุ่งห่ม เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิต นอกจากนี้ ปัจจัยสี่ยังเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงวิถีวัฒนธรรมที่ปรุงปรับสอดรับกับสภาพธรรมชาติแวดล้อมที่มนุษย์ตั้งถิ่นฐาน ปัจจัยสี่จึงให้ภาพสะท้อนสำคัญของการดำรงชีวิตมนุษย์ในวิถีธรรมชาติ

ท้าวปาจิต – นางอรพิม : จากตํานานท้องถิ่น สู่ชาดกนอกนิบาต

“พี่มาเมือง” คําอุทานของนางอรพิม ที่กล่าวขึ้นเมื่อได้พบกับท้าวปาจิต จนเป็นที่มาของ ชื่อ “พิมาย” เรื่องราวจากวรรณกรรมมุขปาฐะ ที่เล่าขานอธิบายภูมินาม ที่ซ่อนทับโบราณสถาน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินทางพุทธวัชรยาน ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย รวมถึงชื่อบ้านนามเมืองหลายแห่งในลุ่มแม่นํ้ามูล

แถน ในตำนานอุรังคธาตุ

แม้ว่า ตำนานอุรังคธาตุจะเป็นเรื่องราวของราชวงศ์กับพุทธวงศ์ แต่ในเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ล้านช้าง ไม่อาจปฏิเสธการก่อร่างสร้างอาณาจักรตามคติแถน ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิม ก่อนที่จะถูกซ้อนทับกลืนกลายด้วยคติพุทธ

พราหมณ์ พุทธ ผี ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

อภิเษก แปลว่า การรดน้ำ ถูกน้ำมาใช้เป็นขั้นตอนสำคัญของการเปลี่ยนสถานะของคนในสังคม ไม่ได้มีเฉพาะการเปลี่ยนสถานะบุคคลให้เป็นกษัตริย์ ในพระราชพิธีที่เรียกว่า “บรมราชาภิเษก”

ประกาศสงกรานต์ ๖๑ เถลิงศก ปีเปิกเส็ด

ปางเมื่อพระสุริเยสเสด็จยัวรยาตรย้ายจากมีนประเทศเข้าสู่เมษราศี ปรากฏในวันเสาร์ ที่ ๑๔ เมษายน พระจุลสังกาศราชาได้ ๑๓๗๙ ตัว

พิธีบรมราชาภิเษกในตำนานอุรังคธาตุ

การสถาปนาพระผู้ผ่านพิภพขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองแว่นแคว้น มีธรรมเนียมสำคัญที่ถือปฏิบัติกันมาแต่ครั้งโบราณ นั่นคือ การรดน้ำเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ

พญาปริสุทธเศวตหัสดีลิงค์ น้อมส่งพระเทพวิทยาคม

เป็นเวลา ๓ ปี นับจากพระเทพวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ) ได้มอบสรีระสังขารเพื่อเป็นครูใหญ่ ของคณะแพทยศาสตร์

รอยพระพุทธบาทในตำนานอุรังคธาตุ

ปาทลักษณะนิทาน หรือเรื่องราวของการประทับรอยพระพุทธบาทในดินแดนลุ่มแม่น้ำโขง เป็นสาระสำคัญหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในตำนานอุรังคธาตุ ดังนั้น แนวคิดเรื่องรอยพระพุทธบาท จึงเป็นแนวคิดสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการแต่งตำนานอุรังคธาตุ

ขัวหลวง เส้นทางสู่เมืองฟ้าพญาแถน

ขัวหลวง เส้นทางสู่เมืองฟ้าพญาแถน ปรัมปราคติว่าด้วยจักรวาลทัศน์ของคนตั้งแต่ครั้งบรรพกาล ที่แบ่งจักรวาลเป็นสองส่วน คือ เมืองฟ้าและเมืองลุ่ม อันเป็นความเชื่อเก่าแก่ของชาวอุษาคเนย์
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com