ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ประจำคอลัมน์: นวนิยายเรื่อง: กาบแก้วบัวบาน และ ศรีโคตรบูร ประวัติย่อ: นักคิด – นักเขียน เจ้าของสมญานาม นักรบสันติภาพแห่งเขาบูโด อดีตข้าราชการครูตำแหน่งอาจารย์ 3 ระดับ 9 (ครูวิทยฐ...Read More
ประสิทธิ์ ไชยชมพู
ประสิทธิ์ ไชยชมพูประจำคอลัมน์: คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ “เขาบังภู” อีกหนึ่งนามสมมุติ เสมือนล้อตนเองในความพยายามข้ามสิ่งบดบังความรู้มหึมาดุจภูเขา แม้นไต่ข้ามมาได้สักหน่อย ก็ยังเห็นความรู้อีกมากกองทะมึนอยู่...Read More
สุรินทร์ ภาคศิริ
สุรินทร์ ภาคศิริ ชื่อจริง ชานนท์ ภาคศิริประจำคอลัมน์: หมอลำยุคพัฒนา (ทางอีศานรายเดือน)นามปากกา: “ทิดโส สุดสะแนน” เกิด พ.ศ.2485 เสียชีวิต 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ประวัติย่อ: นายสุรินทร์ ภาคศิริ มีชื่อจ...Read More
พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา
พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขาประจำคอลัมน์: หอมดอกผักกะแญง (ทางอีศานรายเดือน) ประวัติย่อ: พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา เดิมชื่อ สงคราม จันทรุกขา เกิดเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2479 ที่บ้านดอนใหญ่ อำเภอศรีเมืองใหม่ จังห...Read More
โครงการ วชร 079 จิตพุทธอาสาตามศาสตร์พระราชา
ระดมข้อมูลพื้นฐานและความคิดเห็น ประเด็นประวัติศาสตร์หมู่บ้านในทุกเรื่อง โดยเฉพาะด้านศิลปะ วัฒนธรรม และฮีตคอง
ธีรภาพ โลหิตกุล
นักเขียนในนิตยสารทางอีศานประจำคอลัมน์: ห้องศิลป์อีศาน | Esan galleryชื่อจริง: ธีรภาพ โลหิตกุล ประวัติย่อ: ธีรภาพ โลหิตกุล เป็นนักเขียนสารคดีอิสระ ที่มีคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารหลายฉบับและเป...Read More
ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงค์
ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงค์ เกิดพฤษภาคม ๒๕๑๐ ณ บ้านเลขที่ ๗๙ หมู่ที่ ๑ ตลาดดุซงญอ ต.ดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 83
นิตยสารทางอีศาน : ฉบับที่ 83
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๘๓
ปีที่ ๗ ประจำเดือนมีนาคม ๒๕๖๒
“นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค” เรื่องเด่นในฉบับ
วิญญาณการเมืองอีสาน โดย รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ
ความล่องคง ประวัติศาสตร์ขับขานของชนชาติไท โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา และชายชื้น คำแดงยอดไตย
หลวงพ่อคูณ เทพเจ้าด่านขุนทด ในความทรงจำ โดย สมปอง ดวงไสว
พิธีบรมราชาภิเษกในตำนานอุรังคธาตุ โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
เฮาอยู่ยะลา ผ้าป่าทางอีศาน โดย สฤษดิ์ ผาอาจ
สิ้นสุดการเดินทาง “อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร” โดย นัทธ์หทัย วนาเฉลิม
“ส่องซอด” โดย ต้อง บุตรศรีชา – ผู้ใหญ่บ้านแห่งหมู่บ้านอีสาน จิมฯฟาร์ม ปักธงชัย
คำว่า “น้องวัว” คือ รกวัว นั่นเอง แต่คนลาวอีสานชอบเรียกว่า น้องวัว เพราะเมื่อแม่วัวออกลูกวัวมาแล้ว”รกวัว”จะออกมาตามหลัง จึงเป็นที่มาของคำว่า “น้องวัว”
คำโตงโตย
“ฮ้อนกว่าไฟ ได้แก่ใจ ปกติของใจ นึกจะทำอะไรก็อยากจะทำเร็ว ๆ อยากจะให้เสร็จเร็ว ๆ ที่ว่าไฟฮ้อนก็ไม่ฮ้อนเท่าใจเพราะไฟธรรมที่ว่าร้อน ก็เผาได้แต่เฉพาะกาย
ทางอีศาน 82 : ปิดเล่ม
๐ อย่าได้วาจาเพี้ยงเขาฮอขมขื่น คำปากอย่าได้ตื้นคือหม้อปากแบน อย่าได้แสนแพนหน้าวาจาเว้าอ่ง ฝูงพี่น้องพงษ์เชื้อชิบ่มี ๐ (วรรณคดี “ย่าสอนหลาน”) ดร.ปรีชา พิ...Read More
สุภาษิตโบราณ (๕)
๑๖) พากย์เพรงโลกสรดี ๑๖) คำโบราณท่านกล่าว ถากุมบีจิญจิมขลา ว่าอย่าให้เลี้ยงเสือ
แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลือง อุบลราชธานี
แหล่งโบราณคดี บ้านก้านเหลือง มีพื้นที่ขนาดใหญ่ราว ๆ 3 ตร.กม.พิกัด 15°16'42.4 “N 104°51'18.7” E
สุภาษิตแขมร์ ฉบับ พ.ศ. ๒๔๖๗
สุภาษิตโบราณ พากย์เพรงโลกสรดี คำโบราณท่านกล่าว ถากุมบีจิญจิมขลา ว่าอย่าให้เลี้ยงเสือ พากย์เพรงโลกอปมา
จดหมายจากนักอ่าน
ครั้งแรกดิฉันสมัครเป็นสมาชิก 2 ปี แต่พอนั่งอ่านพบข้อความเชิญชวนสมัครสมาชิกก็เข้าใจว่า ต้องการระดมทุน จึงสมัครเป็นสมาชิกตลอดชีพ เพื่อให้กำลังใจคนทำงาน และคิดทำประโยชน์แก่ส่วนรวม