รำลึกครบรอบ 67 ปีชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู (7 พฤษภาคม 2497 – 7 พฤษภาคม 2564) สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก
รำลึกครบรอบ 67 ปีชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู (7 พฤษภาคม 2497 - 7 พฤษภาคม 2564) สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20 วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก
[ 2/2 ]
รำลึกครบรอบ 67 ปี “ศึกเดียนเบียนฟู” ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส
รำลึกครบรอบ 67 ปี"ศึกเดียนเบียนฟู"
ที่กองทัพเวียดนามมีชัยต่อกองทัพฝรั่งเศส (7 พฤษภาคม พ.ศ.2497 - 7 พฤษภาคม พ.ศ.2564) สงครามยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 20
วันเริ่มต้นสิ้นสุดยุคอาณานิคมโลก
เชื่อมั่น และศรัทธา
เมื่อสนใจ ตระหนักตื่นรู้เรื่องราวความเป็นมาและควรจะเป็นไปของสังคม ของประเทศชาติบ้านเมือง ย่อมบังเกิดความกระตือรือร้น รู้ตัวของตัวว่าเกิดมาทำไม จะมีลมหายใจอยู่อย่างไร และพร้อมตายเพื่ออะไร ให้สมเกียรติและศักดิ์ศรีที่เกิดมาเป็นคน
การค้าโลภ
ในภาวะวิกฤติโควิด
ผู้คนเดินทางสัญจรไปมาน้อยลง
แต่ยานยนต์บรรทุกสินค้าทุกชนิด
กลับเพิ่มมากขึ้น
มากขึ้นทั้งน้ำหนักและความเร็ว
มอบธงทางอีศาน
มอบธงแล้วต้องจ้วงเหล้าจากไหใหญ่
เหล้านี้ต้มด้วยใจรสเข้มข้น
ยกจอกแรกถวายแถนเบื้องบน
สาดจอกสองบูชาบรรพชนคนสร้างไท
ตำจอกสามกับมวลมิตรสหาย
กินดื่มให้ชุ่มใจกายเพื่องานใหญ่
อิ่มหนำแล้วเราออกเคลื่อนขบวนไกล
ไปเฮาไปไปแปงสร้างทางอีศาน...
ไปเฮาไปไปแปงสร้างประเทศไทย...
ฝังข้าไว้ที่เถียงนา
น้องเอยน้องเพียงฟังเสียงจากหัวใจพี่
หวาดไหวฤดีอ่อนล้าทรมาน
พี่จากนามาห่างไกลนิวาสถาน
สุดเส้นแล้วต้องซมซานกลับคืนพื้นถิ่นเฮา
สังสันทน์ “สามก๊ก”
เชิญร่วมงานสังสันทน์และ|หรือติดตามถ่ายทอดสดการเสวนา หัวข้อ "การใช้กลยุทธ์สามก๊กหลังวิกฤติโควิด" โดย ทองแถม นาถจำนง ผู้รู้เรื่องสามก๊กดีที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย นักคิดนักเขียนและนักแปล, อดิศร พวงชมพู บรรณาธิการและผู้บริหาร"ดอกหญ้า"ยุคบุกเบิกและเข้มแข็ง ซึ่งนำประโยค"ยังมิได้อ่านสามก๊ก อย่าพึงคิดการใหญ่"ขึ้นโปรยปกหนังสือตั้งแต่พิมพ์ครั้งแรก, ทิมทอง นาถจำนง หัวหน้าสาขาวิชาการสอนภาษาจีน สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ PIM ดำเนินรายการ
ทั้งวันที่ชุมทางชุมแพ ขอนแก่น
เริ่มกันที่หน้าร้านอุปกรณ์เครื่องใช้ในบ้านของคุณศุภวัฒน์ (อาซ้อ ช่างภาพ) พร้อมคุณปัญญา และคุณสัจจา จากนั้นเจ้าบ้านทำหน้าที่สารถีพาราชรถส่วนบุคคล (ส.เข็มทอง ช่างภาพ) โดยอาตงเข้าสมทบ ไปเยี่ยมยลและสนทนาเรื่องงานวัฒนธรรมกันที่สำนักงาน กทบ.
สงกรานต์ “รดน้ำ” สุวรรณภูมิ “ปีใหม่แขก” จากอินเดียสู่อุษาคเนย์
สงกรานต์เป็นประเพณีที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางทั่วประเทศว่า “ปีใหม่ไทย”
กลิ่นอายสงกรานต์
ดอกแดดแสงแสดแผดผ่าว ดอกคูนเหลืองพราวพูนฟ้า ดอกเห็ดผ่องพ้นดินมา เมษาสงกรานต์บ้านเฮา
หนึ่งวันที่จันทบุรี
ร่วมกับคุณอดิศร พวงชมพู ไปติดตามและมอบงานในพื้นที่ใช้ "สรรพสิ่ง"* เพื่อพัฒนาผลผลิตทุเรียน ณ บ้านชอง ต.คลองพลู อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
ขอพรแถน
ดอกคูนแย้มระย้าบานอีสานถิ่น
เหลืองโพลนทั่วธาณินทร์เวิ้งฟ้าใส
บ้างโรยร่วงรอรับคนจากไท
จากเหนือใต้กลับบ้านสงกรานต์นี้
สะเก็ดไฟไวรัสโคโรนาที่ ศบค.ต้องแถลงประณาม
โลกวิกฤติจากโรคร้ายลามระบาด ประเทศไทยกำลังเผชิญเชื้อปะทุระเบิดครั้งที่สาม ชนวนระเบิดเกิดจากกลุ่มอภิสิทธิ์ชน จากความบกพร่องและไม่โปร่งใสของกลไกอำนาจรัฐคล้าย ๆ สองครั้งที่ผ่านมา
งานสงกรานต์ของคนอีสาน
“เทียวทางให้สุดเส้น อย่างถอยหลังให้คนย่ำ ตายกะตายหน้าพู้น คนจั๋งย่องว่าหาญ...” คำบันดาลใจของคนอุษาคเนย์แต่โบร่ำโบราณปลุกเร้าให้เลือดในกายของพงษ์เผ่าไทสูบฉีด จิตใจแน่วแน่ เชิดหน้าทะยานไกล
ฤดูฤดี
ยามฤดูงามแล้งร้อนอบอ้าว ร้อนจนร้าวกายใจไร้ทีปอยู่ จานดอกคูนเฟื่องฟ้าแดงเหลืองชมพู ม่วงตะแบกชุบชูชีวาไว้