“ท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน” (ครั้งที่ 3) “เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร” ระหว่างวันที่ 4 – 7 มีนาคม 2565
"ท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน" (ครั้งที่ 3) "เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร" ระหว่างวันที่ 4 - 7 มีนาคม 2565
งานสำแดงภูมิปัญญาสำคัญประจำปี 2565 แถลงข่าวเมื่อวันที่ 10 มกราคม กำหนดจัดวันที่ 3 – 6 กุมภาพันธ์ วันนี้มีประกาศเลื่อนไปจัดวันที่ 3 – 6 มีนาคม
งานสำแดงภูมิปัญญาสำคัญประจำปี 2565 แถลงข่าวเมื่อวันที่ 10 มกราคม กำหนดจัดวันที่ 3 - 6 กุมภาพันธ์ วันนี้มีประกาศเลื่อนไปจัดวันที่ 3 - 6 มีนาคม ดั่งนี้ "คณะท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน"ที่กำหนดเดินทางไปสกลนครระหว่างวันที่ 4 - 7 มีนาคมก็จะได้ซึมซับอารยธรรมอีสานเหนืออย่างรอบด้านและเต็มอิ่ม
ท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมสกลนคร
ท่องเที่ยวแอ่งอารยธรรมสกลนคร จัดโดย นิตยสาร | มูลนิธิ | ทางอีศาน
4 วัน 3 คืน นั่งเครื่อง กทม. - อุดรฯ - กทม. เพื่อประหยัดเวลา
0 จุดทัศนศึกษาให้เห็นแจ้งแอ่ อารยธรรมอีสานเหนือ อาทิ
- บ้านเชียง จ.อุดรฯ
- หนองหาร ตำนานผาแดงนางไอ่
- ภูเพ็ก
- ภูพาน
- พระธาตุเชิงชุม
ซื่นสดใส สุขี สวัสดีปีใหม่
วงปีสมมุติเวลาร่วมกันของคนของโลกเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งปี เวลาชั่วชีวิตของคนคนหนึ่งสั้นนักเมื่อเทียบกับประวัติศาสตร์มนุษยชาติและห้วงแห่งกาลเวลา
วันเสาร์ที่ 8 และวันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม 2565 งานรำลึกและเฉลิมฉลองครบรอบ 25|26 ปี อนุสรณ์สถานวีรชนประชาชน-อีสานใต้
วันเสาร์ที่ 8 และวันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม 2565 งานรำลึกและเฉลิมฉลองครบรอบ 25|26 ปี อนุสรณ์สถานวีรชนประชาชน-อีสานใต้ ณ บ้านโคกเขา อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์ .  ...Read More
สนั่น ชูสกุล นักรบวัฒนธรรมผู้พลีชีพกลางสนามรบ (๓)
สนั่นหวนคิดถึงรากเหง้าของตนเสมอ แม้ได้ใช้ชีวิตอยู่ภาคอีสานมากกว่าที่บ้านเกิดของตน มาอยู่อีสานจนส่องซอดถึงระบบนิเวศบุ่ง ทาม มาอยู่จนตั้งสร้างครอบครัว มีลูกสองคน นายนาคร ชูสกุล และนางสาววรรณลีลา ชูสกุล
สนั่น ชูสกุล นักรบวัฒนธรรมผู้พลีชีพกลางสนามรบ (๒)
ดร.เสรี พงศ์พิศ ได้แสดงตัวอย่างรากลึกทางวัฒนธรรมที่บรรพชนสร้างไว้
“การรุกเข้าไปในชุมชนเป็นไปในหลายรูปแบบ ถ้าเปรียบกับธุรกิจ นายทุนใช้ทั้งไม้แข็งไม้นวม ใช้การครอบงําแบบซื้อตัว ซื้อที่ ซื้อความรู้ความสามารถของชาวบ้าน ผู้นำชุมชน ที่เป็นอุปสรรคต่อการ ‘ฮุบ’ ที่ดิน การผูกขาดพันธุกรรม ทำลายความหลากหลาย ทําลายพันธุ์พืชพื้นบ้าน โดยการซื้อที่ดินที่ปลูกพืชเหล่านี้ก็มี แล้วให้เจ้าของที่ดินมาทํางานด้วยค่าแรงที่ไม่อาจปฏิเสธได้
สนั่น ชูสกุล นักรบวัฒนธรรมผู้เสียสละกลางสนามรบ
“ความรู้เรื่องระบบนิเวศอยู่กับชาวบ้าน ในน่านน้ำมีปลากี่ชนิดเขารู้จักและนับให้คุณฟังได้หมด รู้นิสัยของปลา รู้ว่ามันวางไข่เดือนอะไร วางไข่ที่ไหน เดือนไหนมันอยู่ที่ไหน หากินน้ำลึกหรือน้ำตื้น รู้หมด แล้วถ้าจะจับมันจะต้องมีเครื่องมือชนิดไหนเขาก็รู้ จับอย่างไรไม่เป็นการล้างผลาญเขาก็รู้ก็ทำ เขาหวงแหนและมีกุศโลบายในการดูแลให้มีอยู่มีกินถึงลูกถึงหลาน เขามีพิธีแสดงความรักความกตัญญูต่อธรรมชาติ ทั้งตาแฮก ปู่ตา แม่คงคา แม่ธรณี แม่ย่าเพีย มเหศักดิ์หลักเมือง
จะ นะ ชะ นะ
ธัมมะต้องชนะ ดั่งจะนะต้องมีชัย
ธรรมชาตินั้นยิ่งใหญ่ จักรวาลจัดสรรมา
หมู่บ้านที่ไม่ปรากฏบนแผนที่ประเทศไทย
หมู่บ้านนี้ชาวบ้านตั้งชื่อกันเองว่า
หมู่บ้าน"คาเซ"
ตามชื่อหมู่บ้านในละครเรื่อง"เก็บแผ่นดิน"
ที่ชาวบ้านลุกขึ้นมาต่อสู้กอบกู้แผ่นดินเกิดของตน
ชื่อหมู่บ้านดั้งเดิมตั้งตามลักษณะภูมิศาสตร์ - "ตะกาดบัวผุด"
โลกของเรา
ร้อยถ้อยคำนำบรรสานขานรักษ์โลก
ลบสีโศกปาดสีสุขยุคสมัย
บรรยายความจากห้วงห้องหัวใจ
ธรรมชาตินี้ยิ่งใหญ่ธรรมดา
คุณครูเตียง ศิริขันธ์
เด็ดดอกคอมมิวนิสต์ตีนภู
แด่คุณครู เตียง ศิริขันธ์
ลูกหลานน้อมอภิวันท์
เสริญสรรคุณูปการ
“บ้านเชียง”
ย้อนลงลึกเรื่องราวบุราณสมัย บรรพชนไทด้ำก่อนกี้
กินอยู่ทุกข์สุขมาหลายพันปี ณ"บ้านเชียง"แห่งนี้สักขีพยาน
จากใจชาว “ทางอีศาน”
สนั่น ชูสกุล ได้รับการปลูกฝังให้รักชาติรักประชาชนตั้งแต่อยู่ในรั้วมหาวิทยาลัย แล้วตัดสินใจเลือกใช้ชีวิตและสร้างครอบครัว ท่ามกลางการต่อสู้เพื่อสิทธิเพื่อปากท้องของประชาชนคนรากหญ้า พร้อมกับฝึกทักษะงานด้านวรรณศิลป์จนชำนาญ ผลงานเขียนทุกประเภทของเขาสามารถถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ออกมาได้อย่างถึงเลือดถึงเนื้อ เข้าถึงจิตวิญญาณและมีพลังความใฝ่ฝัน โดยเฉพาะงานสารคดีช่วงสุดท้ายเมื่อเขากลับจากไปตระเวนศึกษาดูงานที่ต่างประเทศ
ทุ่ ง ท อ ง
ทิพย์สถานวิมานมนุษย์ ธรรมชาติพิสุทธิ์สวรรค์
แม่น้ำภูเขาดวงตะวัน คืนค่ำดาวจันทร์กระจ่างตา