(16) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (08-04-2020)
ปัญหาเศรษฐกิจระหว่างการระบาดของโควิด-19 ก็หนักหนาแล้ว จะสาหัสมากกว่าอีกเมื่อโรคร้ายนี้ผ่านไป นี่เป็นการคาดการณ์ของผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจสังคม ทำให้รัฐบาลประเทศต่างๆ นอกจากจะหาทางเยียวยาระหว่างนี้แล้ว ยังต้องเตรียมรับมือกับ “เผาจริง” หลังจากนี้
(15) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (06-04-2020)
สมาร์ทโฟนต้านไวรัส จีน ไต้หวัน เกาหลี มีการใช้ “แอป” เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อ แล้วให้กักตัวในบ้านหรือไปโรงพยาบาล ประเทศในยุโรปอเมริกายังรีรอ ตั้งคำถามเรื่องสิทธิส่วนบุคคล เพราะแอปนั้นจะบอกว่า ตั้งแต่ติดเชื้อ หลายวันที่ผ่านมาตนเองใกล้ชิดกับใคร จะได้ติดตามตรวจโรคได้ทัน
อีศานในสถานการณ์ไวรัส“โควิด-19” ลามระบาดทั่วโลก “ให้พี่น้องป้องปาย ซำบายดี ทุกผู่ทุกคน” ( 12 )
เรียนรู้วิกฤติโลก
ร่วมกันป้องกัน แก้ไข และมองไปอนาคต “โลกที่เราสร้างคือผลของวิธีคิดของเรา จะเปลี่ยนโลกไม่ได้โดยไม่เปลี่ยนวิธีคิดของเรา”
“เราไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีคิดเดียวกันกับที่เราใช้สร้างมัน”
และ “ต้องเปลี่ยนวิธีคิดแบบถึงรากถึงโคน” - ไอน์สไตน์ - “พันกองทัพยังไม่เท่าความคิดหนึ่งที่ถึงเวลาของมัน”
(Stronger than a thousand armies, is an idea whose time has come) - วิคตอร์ ฮูโก -
(14) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (04-04-2020)
สหรัฐอเมริกา
แฟรงคลิน ดี รุสเวลท์ (Franklin D. Roosevelt 1882-1945)
ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา 4 สมัย (1933-1945) ผู้นำในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ (1929-1933) จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ก่อนเป็นประธานาธิบดี ท่านเป็นผู้ว่าฯ มลรัฐนิวยอร์ค (1929-1933) ได้รับการยกย่องว่าป็น 1 ใน 3 ประธานาธิบดีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา อีกสองท่าน คือ จอร์ช วอชิงตัน และอาบราฮัม ลินคอล์น
(13) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (03-04-2020)
แปลกใจที่สื่อเสนอข่าวและมีการแชร์ชื่นชม 13 จังหวัดที่ยังไม่มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 ยกเป็นโมเดลอีกต่างหาก เพราะตอนที่ลาวกับพม่ายังไม่มีผู้ติดเชื้อก็ไม่เห็นมีใครไปชื่นชมเขา มีแต่ไปให้ความเห็นว่า เขาคงไม่มีเครื่องมือ หรือเพราะไม่ได้ตรวจหรือเปล่า ตั้งข้อสังเกตไปต่าง ๆ นานา
(12) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (02-04-2020)
มีข้อถกเถียง ความเห็นต่างและแนวปฏิบัติต่างเกี่ยวกับโควิด-19 เพราะวันนี้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเหมือนคนติดอยู่ในถ้ำ หาทางออกไม่เจอ ยังไม่เห็นแสงสว่างอยู่ปลายถ้ำปลายอุโมงค์ไหน เพราะนี่คืออุบัติการณ์ใหม่ มาตรการอะไรที่ใช้กันมาก่อนใช่ว่าจะใช้ได้กับโควิด-19 นี้ เป็นโคถึกที่คึกอย่างยิ่ง ยังเอาไม่อยู่
(11) Covid 19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (31.03.2020)
สองคำที่น่าจะทำให้เราเข้าใจสถานการณ์เศรษฐกิจวันนี้ คือ เศรษฐกิจถดถอย (recession) และเศรษฐกิจตกต่ำหรือเสียหายใหญ่หลวง (depression) ซึ่งยกเอาสหรัฐอเมริกามาเป็นกรณีศึกษา เพราะนอกจากจะมีตัวเลขที่มีการวิเคราะห์ไว้โดยละเอียด สหรัฐยังเปรียบเสมือนหัวรถจักรสำคัญที่ลากเศรษฐกิจโลก และเป็นต้นแบบของการพัฒนา
(9) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (28/3/20)
ในสถานการณ์ที่วิกฤติขึ้นเรื่อยๆ ผู้ติดเชื้อในสหรัฐเกินแสน อิตาลี สเปน เยอรมัน ฝรั่งเศส อิหร่าน ยังไม่มีทีท่าว่าจะ “ราบ” หรือจะลด คนตายก็เพิ่มขึ้นทุกวัน ยาก็ยังไม่มี วัคซีนก็ยังห่างไกล โรงพยาบาลก็โกลาหลเพราะเตียงไม่พอ เครื่องช่วยหายใจขาดแคลนหนัก รวมทั้งเสื้อและหน้ากากสำหรับแพทย์พยาบาล รอมาจากจีนและอินเดียแหล่งผลิตใหญ่ ในยุโรปอเมริกาไม่ได้ผลิตเอง ไม่ได้เตรียมไว้ เพราะไม่คิดว่าจะวิกฤติขนาดนี้
(10) Covid 19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (30.03.2020)
สถาบันและองค์ภาครัฐ วิชาการ ธุรกิจทั่วโลก ร่วมมือกันวิจัยและพัฒนายาและวัคซีน ซึ่งน่าจะได้ผลเร็วกว่าที่ผ่านๆ มา รวมทั้งมีการนำเลือดของผู้ติดโควิด19 ที่หายแล้วมาให้ผู้ป่วยด้วยไวรัสนี้ เชื่อว่า สารภูมิต้านทาน (antibody) ที่เกิดกับผู้ติดเชื้อที่หายแล้วจะช่วยกำจัดไวรัสตัวนี้ได้เร็วขึ้น ที่เยอรมันกำลังทดลองเรื่องนี้อยู่
วงโสเหล่ เสียงตอบจากแม่ญิงอีสานถึงสังคมไทย “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ทุกคน”
วงเสวนาเริ่มต้นจาก พิณทอง เล่ห์กันต์ ผู้ลุกมารณรงค์เรื่องการดูหมิ่นแม่หญิงอีสาน และรณรงค์ล่ารายชื่อในเว็บไซต์ change.org เพื่อตอบโต้ผู้เขียนคอลัมน์นี้
ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ – ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน
ขอแสดงความยินดีกับ อ.ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ จากศิลปินมรดกอีสานสู่ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงประจำปี พ.ศ.2562 เอาเทปที่เคยสัมภาษณ์ไว้มาให้ฟังอีกครั้งค่ะ
เพลง ถนนสายทระนง
เรื่องราวหลายหลากใครอยากฟัง สายน้ำตารินหลั่งใครอยากรู้ ชีวิตล้วนถูกโปรยตีทุกวันผู้ มายิ้มสู้เดินหน้าฝ่าผองภัย สร้างสายรักใยห่วงพ่วงคิดถึง กระชับความซาบซึ้งคนไกลใกล้ เฝ้าประคองคล้องแขนแนบแน่นไป สานศรัทธายิ่งใหญ่ให้ชีวิต...
วันวานกับวันหน้า : ที่ดิน
"บ้านข้อยพุ้นดินดำน้ำซุ่ม ปลากุ่มบ้อนคือแข้แกว่งหาง
ปลานางบ้อนคือขางฟ้าลั่น จักจั่นฮ้องคือฆ้องลั่นยาม"
(ผญาโบราณ)
เรื่องการเขียนหนังสือ
หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ข้าพเจ้าอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ขณะนั้นข้าพเจ้าใคร่จะโฆษณาถึงประเทศของตนบ้าง แต่ทว่าข้าพเจ้ายังไม่รู้ภาษาฝรั่งเศสดี เลยไม่ทราบว่าจะทำอย่างไร?
แมงมุมพิษอีสาน
ชาวบ้านเชื่อว่าหากไม่ได้เอาเข็มไนที่ติดอยู่ที่แผลออกจะทำให้มีปัญหาเรื้อรังตามมาจนตาย คือเมื่อถูกอากาศเย็นจะมีอาการหนาวสะบั้น ครั้งละนานเป็นชั่วโมง และจะรักษาไม่หาย หากไม่ได้เอาเข็มไนออกภายใน ๕ ปี ซึ่งการเอาเอาออกทันที หากทิ้งไว้นานไปยิ่งมีโอกาสเอาออกได้ยาก ถ้าเกิน ๕ ปีก็จะไม่สามารถหาพบ