0 ทนง โคตรชมภู มนุษย์ผู้หัวใจไม่ยอมแพ้
รำลึก…ทนง โคตรชมภู(1 เมษายน พ.ศ.2509 – 7 กันยายน พ.ศ.2562)ค่ำนี้เชิญอ่านประวัติ ~ ถ้อยคำ ~ กวีรำลึกถึง “ทนง โคตรชมภู – มนุษย์ผู้หัวใจไม่ยอมแพ้” 0 ทนง โคตรชมภู มนุษย์ผู้หั...Read More
“คารวะและนับถือ”
ขอน้อมคารวะความเป็นผู้นำของท่านผู้นำสูงสุด คิม อิล ซุง ขอแสดงความนับถือและเชิดชูวีรภาพของประชาชนเกาหลี พวกท่านได้ต่อสู้และมีชัยมาแล้วกับนักล่าอาณานิคม กับจักรวรรดินิยมและปัจจุบัน พวกท่านกำลังต่อสู้อยู...Read More
ใบลานวัดมณีวนาราม มรดกบรรพชนคนอุบล
วัดมณีวนารามชาวบ้านเรียก“วัดป่าน้อย” ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างราวปลายสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระอริยวงศาจารย์ (สุ้ย) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก วัดแห่งนี้มีสำนักเรียนพร...Read More
“คนคลั่งครั่ง”
“มีไหมบ่มีครั่งย้อม มันบ่ห่อนแดงเอง คันบ่หาฟืมฟัด ต่ำทอบ่มีแล้ว มีไหมบ่มีเข็มห้อย สิเอาหยังหยิบแส่ว มีเข็มบ่มีไหมห้อยก้น สิหยิบได้ฮ่อมได๋” ผญาคำสอนตั้งแต่โบราณบอกกล่าวเล่าความสำคัญของ “ไหม” ...Read More
แถลงการณ์จากผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด ฉบับที่ ๒
จากการที่มีหน่วยงานราชการบางแห่งทำการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงว่านามร้อยเอ็ดมาจากคำว่าสิบเอ็ดประตู ทั้งยังมีการใช้อำนาจทำการผลิตซ้ำข้อสันนิษฐานอันล้าหลังอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะสร้างความเสียหายทา...Read More
อาจารย์มรภ.ร้อยเอ็ด จี้ อย่าล้มโต๊ะถกปมแก้คำขวัญด้วยวาทะ ‘เกิดไม่ทัน’ ด้อยค่าวิชาการ
ผ.ศ.ปริญ กล่าวว่า เรื่องสิบเอ็ดประตูมาจาก 11 ช่องทาง เป็นเรื่องเก่าที่ได้มีการศึกษาอธิบายมาตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนคำขวัญแล้วว่าไม่เป็นจริง คือการศึกษาของพิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ผู้เชี่ยวชาญของกรมศิลปากร มีการ...Read More
ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง
ปธ.สภาวัฒนธรรมร้อยเอ็ด แจงที่มาคำขวัญจังหวัด ‘สิบเอ็ดประตูเมืองงามฯ’ อ้างอิงแผนที่เข้าเมืองโบราณ มี 11 ช่องทาง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ดร.สาธิต กฤษลักษณ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด เปิ...Read More
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอน 2 ) รักษาวิถีเพื่อประเพณีอันดีงาม
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถีตอนแรกได้ผ่านสายตาท่านผู้อ่านไปแล้ว โดยได้บอกเล่าเรื่องราวความเป็นชุมชนโบราณผ่านการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมของคนในชุมชน โดยมีบุคคลสำคัญคือพระครูบุญชยากร เจ้าอาวาสวัดไชยศรี ที่เป็นผู้มอง...Read More
เสน่ห์อีสานบ้านสาวะถี (ตอนที่ 1) ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมนำวิถีสุข
หลายคนคงเคยได้ยินชื่อ “หมู่บ้านสาวะถี” ตำบลสาวะถี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่อยู่ห่างจากตัวเมืองขอนแก่นประมาณ 20 กิโลเมตร แต่อาจจะยังไม่เคยมาเยือนหรือมาท่องเที่ยวที่นี่ สิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง อาจจะเป...Read More
บุญข้าวสาก : ไปยามกัน สานสายใยเชื่อมโยงญาติ
มีคำผญากล่าวถึงบรรยากาศวิถีชีวิตงานประเพณีเดือนสิบ บุญข้าวสาก อยู่ว่า “ เถิงเดือนสิบ สิก่นมันมาต้ม พ่องกะงมกอข้าว หาเทากำลังอ่อน พ่องกะคนต่าน้อย ลงห้วยฮ่องนา เดือนนี้บ่ได้ช้...Read More
พระยืนพุทธมงคล มหาสารคาม รอยศรัทธาคุณค่าของตำนาน
พระพุทธรูปโบราณประดิษฐานวัดใด ถ้าวัดนั้นบริหารจัดการดี ย่อมเป็นที่สนใจของพุทธศาสนิกชน เสมือนมีแม่เหล็กดึงดูดคนให้เข้าวัด อย่างพระพุทธรูปยืนพุทธมงคล วัดพุทธมงคล อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม พระคู่บ...Read More
เกษตร ๑๒ เดือน : ชูรสชูค่าทะเลเกลือใต้พื้นพิภพ
“เกลือ” ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีลักษณะการใช้สอยหลัก คือ เป็นเครื่องปรุงรสและใช้สำหรับถนอมอาหาร อย่างไรก็ตามความมีดีของเกลือก็ไม่ต่างจากสำนวน “จงรักษาความดี ประดุจเกลือรักษาความเค็ม” เพราะเรื่องราวขอ...Read More
ท ฤ ษ ฎี “ผี บ้ า”
ชีวิตในหมู่บ้านหนึ่งก็เหมือนนิยายเรื่องหนึ่ง มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย มีดีใจโศกเศร้า มีเคียดแค้นให้อภัย มีสันติสงคราม มีบาดหมางสามัคคี ตัวละครประกอบด้วย พระเอกผู้ร้าย นางเอกนางรอง ผู้ทรงศีลมหาโจร คนเข้า...Read More
ปิดเล่ม ทางอีศาน 131
การกำเนิดเกิดขึ้นของถนนสายมิตรภาพและทางรถไฟสายอีสาน เมื่อ 60 ปีก่อน นำมาซึ่งความสะดวกสบาย ลักษณะน้ำไหลไฟสว่างทางดี แต่ขณะเดียวกัน เกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ก็ขยายตัว พื้นที่ป่าถูกทำลาย สายน้ำถูกบุกรุกจับจอง...Read More
ใ จ แ ห่ ง นิ ย า ย ภ า ร ต ะ
• สะท้อนเลือดเนื้อเชื้อชีวิต จิตวิญญาณอดีตกาลนานเนิ่นสำแดงจินตนาพาเพลิดเพลิน มนุษย์สรรเสริญพระเจ้าใด • องค์พระพรหมทำหน้าที่พระผู้สร้าง พระศิวะทำลายล้างปางหวาดไหวพระวิษณ...Read More