By

ชลธิรา สัตยาวัฒนา

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๒)

วัฒนธรรมบั้งไฟ” จัดอยู่ในสังกัดร่วม ‘สายวัฒนธรรมแถน’ ของชาวไท|ลาว กลุ่มต่าง ๆ ที่สืบสายเชื้อเครือมาจาก ‘ชาวไป่เยวี่ย’ ในส่วนสายชาติพันธุ์ไท มายาวนานแต่โบราณสมัย จากการวิจัยสนามของนักวิชาการหลายท่าน รวมทั้งของผู้เขียนเอง ข้อมูลสนามบ่งชี้ว่า ประเพณีบุญบั้งไฟของชาวไทยถิ่นอีสานอยู่ร่วมบริบทประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมมากับชาวลาวแห่งอาณาจักรล้านช้าง

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๑)

“จางไห่ตื้งซิบสี่ เป่าปี่ขึ้นเมิ้งผี” ช่าง (นักดนตรี) สิบสี่ (คน) เป่าปี่ขึ้น (ไป) เมืองผี (สวรรค์)

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)

ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)

อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)

ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”

Dam~Tao Dialogue 1 บทวิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท”

​ปัญหาอย่างหนึ่งของงานโบราณคดีโดยทั่วไปคือ การอธิบายความหมายและนัยยะของโบราณวัตถุให้เกินระดับพื้นผิวของวัตถุ โดยมากทำได้แค่เพียงอธิบายว่าโบราณวัตถุแบบเดียวกันนี้พบที่ไหนบ้าง ซึ่งเป็นผลมาจากพื้นฐานของงานโบราณคดี (และประวัติศาสตร์ศิลปะ) นั้นตั้งอยู่บนการศึกษาเชิงรูปแบบ (Form/Formalism) เป็นหลัก อาจมีบ้างที่พยายามจะถอดสัญญะความหมายแต่ก็เป็นไปอย่างตรงไปตรงมา

Tao Dialogue 6 ต่อเต้าความ เรื่องสัญรูป|สัญอักษร “เต้าตี”

การสลักลวดลายสัญญะบนศิลปะวัตถุสำริด (Bronze vessels) สมัยปลายราชวงศ์ซาง ต่อเนื่องด้วยระยะต้นและระยะกลางของราชวงศ์โจวตะวันตก จัดว่าเป็น ‘ทวิสัญญะ’ ที่ทับซ้อนกัน คือมีทั้งส่วนที่เป็น ‘สัญรูป’ และ ‘สัญอักษร’ หรือนัยหนึ่งคือ ‘อักขระโบราณ’ แต่ดึกด้ำปางบรรพ์ ซึ่งจนทุกวันนี้ก็ยังไม่มีใครอ่านออกและให้ความหมายได้ชัดเจน

Tao Dialogue 5 บทสนทนาว่าด้วยเรื่อง ‘เต้า’ บทบาททางพิธีกรรม

‘เต้า’ ในฐานะภาชนะ บรรจุของเหลว เช่น น้ำ หรือเหล้า ฝรั่งคงนึกไม่ออกว่า ‘น้ำ’ มีความพิเศษเฉพาะอย่างไรในพิธีกรรม เมื่อมีการขุดพบศิลปะวัตถุโบราณ ที่บรรจุของเหลวได้ มักนิยามสิ่งนั้นว่า เป็น ‘wine container’

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น

Tao Dialogue 4 บทสนทนาว่าด้วยคำ ‘เต้า’ จาก ‘เต้า’ จุดกำเนิด สู่ ‘เก๊ง~เคียง~เชียง’ ที่ตั้งมั่น โดย ชายชื้น คำแดงยอดไตย

Tao Dialogue 3 บทวิจารณ์ มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง

เมื่อศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) เชื้อชวนผมให้เขียนถึงคำว่า ‘เต้า’ ใน ‘เต้า’ ตาม ไต ‘เต้า’ ทางไท อันเป็นบรรพสองของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ทางหนึ่งจึงนับเป็นเกียรติยิ่งอีกครั้ง จากคราวก่อนที่ได้รับความเมตตาให้โอกาสเขียนถึงคำว่า ‘ด้ำ’ ผีบรรพชนผู้เฝ้าปกปักรักษาสายโคตรตระกูล ในมหากาพย์ฯ บรรพแรก: ‘ด้ำ’ แถน กำเนิดรัฐไท (ชลธิรา พ.ศ.๒๕๖๑)

TAO Dialogue 1 เวทีสังสันทน์ ว่าด้วยเรื่อง “เต้า”

มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท” กำลังใกล้จะสำเร็จเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สาธารณชน โดยผู้เขียนทั้งสองถือเป็น ‘วิทยาทาน’ แก่สังคม

TAO Dialogue 2 “เต้า” สนทนา จากประสบการณ์อ่านวรรณคดี บนฐานคิด ‘มานุษยวิทยาสัญนิยม’

บนฐานคิดที่ว่า ‘ภาษา’ มีชีวพันธุกรรมต้นกำเนิด มีการแตกตัว เคลื่อนไหว เดินทาง กระจายตัว แม้ถูกกลืนกลาย ก็ยังสาวหารากร่วมได้ โดยการใช้ ‘กุญแจคำ’ ไขรหัสสิ่งที่เป็น ‘วัฒนธรรมร่วมเชื้อสาย’

ขอป่าวประกาศว่าจะมาตามนัดนะคะ – “เต้าตามไต เต้าทางไท” (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)

เริ่มจากวันที่ 1 กันยายน 2565 เป็นต้นไป จะมีนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ 'ทาง' ด้านต่าง ๆ บางท่าน ที่ได้กรุณาเขียนงาน ซึ่งเป็นการต่อยอด ขยายความรู้ ให้กับงานชุด มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ที่กำลังจัดพิมพ์รวมเล่มค่อนข้างหนา ในชื่อว่า "เต้าตามไต เต้าทางไท" (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)

วรรณกรรมคนคุก วรรณกรรมวิจารณ์ แนวสัญญะ|สังคม~สัจจนิยม (Semiotic Social Realism) #จิตรภูมิศักดิ์

บทสรุปการวิจารณ์ ต้นกำเนิด 'ดวงใจ ในแดนฟ้า' ถือว่าเป็นเรื่องเล่าปรัมปรา (Myth) มีลักษณะตรงตามนิยามความหมายของคำว่า 'Myth' คือ "เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น

กำเนิดแคน

“แคน” เป็นชื่อเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ใช้เป่าเป็นเพลง ทำด้วยไม้ชนิดหนึ่งเรียกว่า ‘ไม้กู่แคน’ จัดเป็นตระกูลไม้ไผ่ เข้าใจว่าเป็นไม้ชนิดเดียวกับที่ทางภาคกลางเรียกว่า ‘ไม้ซาง’ (สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๗) ต้นเหตุที่จะเกิดมีแคนขึ้นนั้น มีเรื่องเล่าเป็นปรัมปราคติว่า ‘หญิงม่าย’ นางหนึ่งเป็นคนแรกที่ประดิษฐ์คิดค้นทำแคนขึ้น
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com