ฟ้าผ่าคนขวง
ชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ “ทางอีศาน” ส่วนใหญ่มีอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร่ ทุกเช้าต้องรีบออกไปทํางาน หนักเอาเบาสู้ตามประสาคนพื้นถิ่นที่ไม่ได้เรียนต่อชั้นสูง ถึงเวลากินข้าวก็มีลูกหลานนําสํารับกับข้าวไปส่ง แล้วร่วมวงกินกันแบบพอเพียง มีข้าวเหนียวเป็นพื้น ปลาแดกบอง ป่น แจ่ว กินกับผักพื้นบ้านตามท้องไร่ท้องนา ก็นับว่าเลิศรสวิเศษแล้ว
กะเป๊ก : หน่อไม้จากต้นข้าว
“กะเป๊ก” คืออะไร ถามคนส่วนใหญ่ไม่น่ามีใครรู้บางคนยังถามกลับว่า เป็นตัวอะไรหรือแต่ถ้าถามว่าแล้ว “หน่อไม้น้ำ” เล่าซึ่งเป็นอีกชื่อเรียกหนึ่งของกะเป๊ก บางคนบอกเคยได้ยินชื่อ และในบางคนนั้น อาจมีเพียงคนหรือสองคนที่รู้จัก และเคยกิน
ฮีตเดือนอ้าย
คำว่า “อ้าย” แปลว่า หนึ่ง, กก, ก่อน เดือนอ้ายเป็นเดือนแรกในฮีตสิบสองงานบุญประจำเดือนเดือนอ้ายสังฆเจ้าเข้ากรรม ส่วนเดือนยี่หาฟืนมาไว้แล้วตั้งข้าวจี่ในเดือน ๓ เป็นประเพณีที่เก่ามาอย่างนี้ แต่ความจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนี้
สาส์นจากทางอีศาน 32
สาส์นแสดงความยินดี กับสองรางวัลในปี ๒๕๕๗ ของ นิตยสารทางอีศาน และ บริษัท ชนนิยม จำกัด นิตยสารทางอีศาน ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 16 รางวัลชนะเลิศประเภทสื่อมวลชน หนังสือในเครือ บริษัท ชนนิยม จำกัด สองเล่ม คือ ความลับของเด็กเกเร โดย ภาณุมาศ ภูมิถาวร และ พ่อนายก สายไหม บ้านหนองฮี
ทางอีศาน 32 : จดหมาย
ทางอีศาน : เรื่อง หมอลำ ในทุก ๆ ด้านมีการศึกษาค้นคว้ารวบรวมไว้พอสมควร “ทางอีศาน” จะประมวลมานำเสนอ และทราบว่ามีการตั้ง สถาบันหมอลำ ขึ้นโดย จิม ทอมป์สัน ที่สำนักงานกรุงเทพฯ รายละเอียดจะรายงานให้ทราบในโอกาสต่อไป.