Tag

ทางอีศาน78

เยาวภาพแห่งเดือนตุลา

ธาตุลักษณะของความเยาว์วัยอยู่ที่ความบริสุทธิ์ สดใส ร่าเริง กระตือรือร้น เสียสละ และเปี่ยมพลัง แม้ในวัยหนุ่มสาวหรือสูงอายุสักปานใด หากยังรักษาธาตุลักษณะนี้ไว้ก็ได้ชื่อว่ามี “เยาวภาพ” ในตนเอง

ชวนตะลึง! ลึงคบูชา ราชันย์ภิเษก (๒)

ห้องศิลป์อีศาน ฉบับที่แล้ว ผมเล่าเรื่องลัทธิบูชาเทวลึงค์ในฐานะที่เป็นบุคลิกภาพอันศักดิ์สิทธิ์ของกษัตริย์กัมพูชา ในยุครุ่งเรืองสมัย เมืองพระนคร (Angkor Period) ด้วยความเชื่อว่าความรุ่งเรืองของอาณาจักรขึ้นอยู่กับราชลึงค์อันสำคัญนี้ วิหารที่เก็บศิวลึงค์ต้องอยู่บนยอดเขา เป็นทำนอง “ภูเขาวิหาร” อาจเป็นภูเขาธรรมชาติ หรือจำลองขึ้นก็ได้ โดยตั้งอยู่กลางนครหลวง ที่ตรงนี้จะได้รับการเชื่อถือว่าเป็นแกนแห่งจักรวาล

การส่งส่วยในภาคอีสาน

การส่งส่วย คือ การส่งภาษีของไพร่หลวงที่อยู่ห่างไกลเมืองหลวงให้รัฐบาลนั่นเอง ภาคอีสานมีความสำคัญต่อรัฐบาลมากที่สุดในการส่งส่วย เพราะมีเมืองที่ส่งส่วยมากที่สุดในประเทศ กล่าวคือมีถึง ๗๒ เมือง ในขณะที่ภาคกลางมี ๓๗ เมือง ภาคตะวันออก ๑๕ เมือง ภาคใต้ ๑๒ เมือง ภาคตะวันตก ๘ เมือง ภาคเหนือ ๖ เมือง (สุวิทย์ ธีรศาศวัต ๒๕๔๘:๑๒๖)

อมตะอีสาน ไม่รู้จบ

ผมเป็นคนอีสานที่เข้ากรุงเทพฯ ในยุคนี้ ยังสงสัยและคิดหาเหตุผลว่าทำไม บัตรประจำตัวประชาชนของเราก็บ่งบอกว่า เชื้อชาติสัญชาติไทย แต่ทำไมคนภาคอื่นจึงผลักไสให้เราเป็นลาว...

ตระกูลภาษา “ไท-กะได” กับ ไป่เยวี่ย

ปัจจุบันนี้ วงวิชาการยอมรับกันแล้วว่าชน “ไป่เยวี่ย” สายหนึ่งเป็นบรรพชนของชนชาติในตระกูลภาษา ไท-กะได ก็เลยเกิดปรากฏการณ์ มีการไปเรียกพวกไป่เยวี่ย สาขาที่อยู่ตอนเหนือ คือ แถบเจ้อเจียง-เซี่ยงไฮ้ (เรื่องราวของ โกวเจี้ยน ฟูไช นางไซซี) ว่าเป็นคนไท/ไต

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : พญานาคเกเรแห่งรอยพระพุทธบาท หมายเลข ๓ (๔)

หลวงพ่อเจริญเจ้าอาวาสวัดป่าแห่งหนึ่งในอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ที่ฉันให้ความเคารพเคยบอกไว้ตั้งแต่ยังเป็นเพียงเด็กสาวอ่อนเดียงสา เพราะเห็นว่าชอบอ่านนิทานพื้นบ้านตำนานต่าง ๆ ราวกับท่านได้เล็งเห็นว่าหากมีวิชาความรู้ก็เหมือนมีทรัพย์ที่จะได้ใช้ในอนาคต

วิถีกินอยู่คนอีสาน อาหารภัตตาคารในเถียงนาน้อย ลาบเทา

วันนี้ข้าพเจ้าจะพาทุกคนมารู้จักกับ เมนูอาหารอีสานพื้นบ้านซึ่งมีมาแต่โบราณกาล ส่งต่อกันมาจากรุ่นบรรพบุรุษเลยก็ว่าได้ เมนูที่ว่านั่นคือ ลาบเทา

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – บทนำ

“ทวดคือพ่อของปู่” สีโหเอ่ยชื่อบรรพบุรุษ “จารย์บุญคือ ทวดของปู่เฮือง...” “ถูกต้องแล้ว” แกบอกสีโห “ผมคือหลานแท้ ๆ ของจารย์แก้วกับย่าแพง”
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com