แหล่งตัดหินสร้างประสาทของขอมโบราณในอีสานใต้
มรดกอารยธรรมในอีศานใต้อย่างหนึ่งคือ ปราสาทขอมโบราณ สาเหตุที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แต่ไม่ดับไปก็เพราะว่า สร้างด้วยหิน ความทนทานของหิน ทำให้รูปจำหลัก และลวดลายยังคงรูปทรงไว้ อนุชนรุ่นหลังจึงได้เห็นได้ภูมิใจ และได้ศึกษาภูมิปัญญาของบรรพชน
คนละเรื่อง
“แม่ พื้นเพแม่เป็นคนจังหวัดไหนครับ?”
แม่เฒ่าอ่อนทาตอบ
“แม่เป็นคนตาก!”
ทองรัตน์หันหน้าไปถามพ่อเฒ่าละบ้าง
“พ่อเฒ่าล่ะครับ?”
พ่อเฒ่าละไม่ทันได้ตั้งตัว ได้ยินแว่ว ๆ ว่า
แม่เฒ่าอ่อนทาเป็นคนตาก ก็ตอบไปทันทีว่า
“กูเป็นคนซัก! มึงก็รู้ ไม่น่าถาม!”
“หมอลำหลวง” เมืองอุบลฯ
มีด้วยหรือ “หมอลำหลวง” ?
มีซิ ทำไมละ ในเมื่อ “โหรหลวง” หรือหมอดูหลวงยังมีเลย
แต่ “หมอลำหลวง” มีในอดีตสมัยรัชกาลที่ ๕ โน่น
วิธีระงับโกรธ
เรื่องลูกเขยกับพ่อเฒ่านี่ เขียนมาหลายเรื่องพ่อเฒ่าก็โดนลูกเขยเล่นงานอยู่เสมอ ไม่รู้มันเป็นบาปกรรมของพ่อเฒ่ารึเปล่าก็ไม่อาจทราบได้ มีพ่อเฒ่ารายหนึ่งอ่านเรื่องพ่อเฒ่ากับลูกเขยในนิตยสาร “ทางอีศาน” มาหลายเรื่องจึงหาทางแก้เผ็ดลูกเขยบ้าง จะไม่ยอมให้ลูกเขยตัวเองมาสร้างวีรกรรม เหนือกว่าพ่อเฒ่าได้อีกต่อไป!
สาส์นจากทางอีศาน
การถือกำเนิดขึ้นและดำเนินการมาของนิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” ก็เพื่อ ‘ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต’
จดหมายจากนักเขียน
เรียน ท่านผู้อ่าน “ทางอีศาน” ที่เคารพ
ผมเป็นคอลัมนิสต์จิตอาสา ของ “ทางอีศาน” มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ ด้วยศรัทธาในปณิธานของ บ.ก.ปรีดา ข้าวบ่อ ที่อึดและอดทนทำนิตยสารเชิงสาระความรู้ เพื่อชาวอีศานและคนไทยทุกภาค “ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต”
จนถึงราวปลายปีที่แล้ว ผมมีปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบ คือข้อมูลและภาพประกอบที่จะเขียนคอลัมน์ “ห้องศิลป์อีสาน” เหตุเพราะปัญหาสุขภาพ ทำให้ผมไม่ได้เดินทางไปเก็บภาพและข้อมูลใหม่ ๆ เลย จึงเห็นควรพักคอลัมน์ “ห้องศิลป์อีศาน” ไว้ถึงฉบับมีนาคมที่ผ่านมา
“แตกเมือง”
ถ้าปีใดวันขึ้น หรือแรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ ตรงกับวันอังคาร หรือแรม ๕ ค่ำ เดือน ๕ ตรงกับวันอังคาร เชื่อกันว่าเป็นวันร้อน วันอัปมงคล วันอุบาทว์ วันโลกาวินาศ คนไทภาคอีสานมีประเพณี “แตกบ้าน” เพื่อแก้เคล็ด
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 96
เรื่องเด่นในฉบับ
• เปิดบั้นกวดสอบเหรียญคำ ครั้งที่ ๓ ปี ๒๐๒๐ – ๒๐๒๒ ของวงการกวีนิพนธ์ลาวทั่วโลก โดย บุญรักษ์ ปะละกัง (“บ่าว เจดี”)
• เปิดคอลัมน์ “อีศานโจ้โก้” – แหล่งตัดหินสร้างปราสาท ของขอมโบราณในอีสานใต้ โดย สัจภูมิ ละออ
• ผักไหม พลังท้องถิ่นผนึกท้องที่ที่น่าอยู่ โดย ขวัญชิต โพธิ์กระสังข์
• มันมหามัน : มันแกวบรบือ มหาสารคาม โดย สมปอง ดวงไสว
• แกงบอน : หาพาแลงชวนทำ “แกงแม่นางหวาน” โดย "หลานเหลียน" พร้อมทั้งมีผญา นวนิยาย บทกวี การ์ตูน ภาพวาด พ่อเฒ่ากับลูกเขย สาระบันเทิงเข้มข้น ครบครัน