วัดหลวงปากเซ การประสมประเสที่น่าทึ่ง

“ปากเซ” เป็นเมืองเอก หรือเมืองศูนย์กลางของแขวงจำปาสัก และยังถือเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า การคมนาคม ของสปป.ลาว ในเขตภาคใต้ อีกทั้งยังเป็นศูนย์การศึกษาพระพุทธศาสนาที่ใหญ่ที่สุดของลาวอีกด้วย

“หมอลำหลวง” เมืองอุบลฯ

มีด้วยหรือ “หมอลำหลวง” ? มีซิ ทำไมละ ในเมื่อ “โหรหลวง” หรือหมอดูหลวงยังมีเลย แต่ “หมอลำหลวง” มีในอดีตสมัยรัชกาลที่ ๕ โน่น

(21) Covid-19 เรียนรู้จากสถานการณ์ (21-04-2020)

ขอร้องคนรวยช่วยคนจน ไม่ว่าจะขอเงินหรือขออะไร รวมไปถึงขอความคิดเห็น กลายเป็นประเด็น เพราะมีคำถามมากมาย ที่ส่วนใหญ่ไม่ถามธรรมดาแต่วิพากษ์วิจารณ์รุนแรงเป็น “รัฐบาลขอทาน” ด้วยบรรยากาศกดดันจากพรบ.ฉุกเฉิน ความทุกข์จากโรคระบาด ขาดรายได้ ไม่มีจะกิน

ฝังข้าไว้ที่เถียงนา

น้องเอยน้องเพียงฟังเสียงจากหัวใจพี่ หวาดไหวฤดีอ่อนล้าทรมาน พี่จากนามาห่างไกลนิวาสถาน สุดเส้นแล้วต้องซมซานกลับคืนพื้นถิ่นเฮา

ท้าวผาแดง – นางไอ่

วรรณคดีภาคอีสานโบราณซึ่งมีอยู่ในหนังสือผูกที่สำคัญเรื่องหนึ่งคือ “ท้าวผาแดง-นางหนังสือผูกนี้โดยปกติจานลงในใบลานเป็นตัวหนังสือไทยน้อย โดยทั่วไปตัวหนังสือที่ใช้อยู่ในภาคอีสานแต่ก่อนนั้นมีอยู่ ๓ แบบ ตัวหนังสือไทยน้อย นั้นส่วนมากใช้ในวงการบ้านเมืองทางคดีโลกและวรรณคดี แบบที่สองคือ ตัวหนังสือธรรม ส่วนมากใช้ทางคดีธรรม คือใช้ในวัดแบบที่สาม คือ ตัวหนังสือขอม เป็นอักษรสำหรับจารึกพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ทั้งสามแบบนี้ ใช้เหล็กแหลมจาน (ขีด) จารึกไว้บนใบลาน โดยใช้เส้นเชือกร้อยหรือผูกไว้ ถ้าหากมีขนาดยาวก็เรียกว่า “หนังสือผูก” ซึ่งมักจะเป็นเรื่องวรรณคดี ถ้าหากจารึกลงในใบลานขนาดสั้นก็เรียกว่า “หนังสือก้อม” โดยมักจะเป็นประเภทตำราต่าง ๆ ทางวิชาการ

ย้อนอดีตโรคระบาดในไทย

ย้อนเหตุโรคระบาดครั้งใหญ่ที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยในอดีต และการรับมือในแต่ละครั้ง เรื่องราวเหล่านี้ให้บทเรียนอะไรกับเราบ้าง
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com