อ.ราชภัฏร้อยเอ็ด จี้หน่วยงานรัฐเลิกยัดเยียด-ผลิตซ้ำ ‘เมืองสิบเอ็ดประตู’ ใช้ภาษีเผยแพร่ข้อมูลไร้หลักฐานรองรับ
เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญ รสจันทร์ อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เผยแพร่แถลงการณ์ ในฐานะผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด เรียกร้องให้หน่วยงานราชการยุติการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นความจริง เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดร้อยเอ็ด กรณี ‘เมืองสิบเอ็ดประตู’ ซึ่งถูกหักล้างไปนานกว่า 10 ปีด้วยข้อมูลทางวิชาการของนักภาษาโบราณ กรมศิลปากร แต่กลับยังคงมีการใช้ข้อมูลดังกล่าวอยู่ในปัจจุบัน
ลอกคราบค่านิยม
ข้าราชการตำรวจเป็นตัวแทนองค์กรอำนาจรัฐที่ทำงานใกล้ชิดติดกับประชาชนพลเมืองมากที่สุด มีหน้าที่ดูแลความสะดวก รักษาความปลอดภัย ป้องปราบปรามและกำจัดเหล่าร้ายไอ้ศัตรูทั้งปวง
ร้อยเอ็ดมาจากไหน
“ร้อยเอ็ด" มาจากไหน? ทำไมไม่ใช่ "สิบเอ็ด"? (จากหนังสือพิมพ์มติชนรายวันฉบับวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2553)
ร้อยเอ็ดเมืองทวารวดีที่ไม่มีคำว่าบังเอิญ
หลังจากเขียนเรื่อง “ร้อยเอ็ดเมืองทวารวดีที่ไม่มีคำว่าบังเอิญ” ลงในนิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ 131 ประจำเดือนมีนาคม 2566 มีโทรศัพท์และข้อความเข้ามาหาเป็นจำนวนมาก ประเด็นที่ไถ่ถามคือชื่อจังหวัดร้อยเอ็ดที่เขียนว่าเพราะมี “สิบเอ็ดประตู” เอาหลักฐานมาจากไหน ?
“วัดเขาศาลา” หลวงพ่อเยื้อน สงบงามผืนป่าอารยธรรม
พื้นที่ที่เรานิยมเรียกกันว่า “อีสานใต้” เป็นแหล่งอารยธรรมมาแต่เก่าก่อน ร่องรอยอารยธรรม นักโบราณคดีและผู้คนค้นพบเพิ่มเติมอยู่เนือง ๆ
ประเทศไทย เมืองพุทธ ดีที่สุดในโลก
ไม่เห็นโลงศพมิหลั่งน้ำตา ไม่เจ็บป่วยไม่เห็นคุณหมอ ไม่เห็นโควิดก็ไม่คิดถึงรัฐบาล
นิสัยมนุษย์เราอยู่กับสิ่งไหนนาน ๆ ซ้ำซากก็มักจะเบื่อง่าย ๆ ประเภทใกล้เกลือกินด่าง สุภาษิตเก่าอีสานเขาว่า “เห็นขี้ ดีกว่าไส้” เราจึงได้ยินคนไทยด่าเมืองไทยบ้านเกิดเมืองนอนของตัวเอง เหมือนศัพท์สมัยใหม่ที่เขาเรียกว่า “พวกชังชาติ” งมงายไร้เหตุผล เหมือนคนในอยากออกคนนอกอยากเข้า