ทางอีศาน 13 : ส่องซอด
สำหรับเพื่อนที่เกิดมาในแดนอีสาน ขอให้เราได้มาสำรวจความเป็นคนของเราคนอย่างตรงไปตรงมาเพื่อที่จะได้รู้จักตัวเองได้ดีขึ้น
เก้าพิธีกรรมขอฝน (Nine Rain Rituals)
เมื่อฝนไม่ตกเพราะเหตุดังกล่าว บรรพชนเราจึงคิดค้นพิธีกรรมขอน้ำฝนขึ้นมาตามความเชื่อของตน ขอน้ำฝนจากแถน เทพบุตร เทวดาองค์ที่มีหน้าที่ให้น้ำฝนน้ำฟ้าประทานแก่ชาวโลกทั้งมวลหากองค์ท่านไม่พึงพอใจก็ไม่ทำหน้าที่ ทำเป็นเฉยเมยไปเสีย ดังนั้น ปราชญ์บรรพชนเราจึงทำพิธีกรรมขอฝน ซึ่งที่เคยมีมาแล้วนั้นไม่น้อยกว่า ๙ พิธีกรรม
หลงฮอยอีศาน : บุญเดือนห้า
คำที่ว่า ‘เป็นคนเฒ่า นั่งเล่าความหลัง’ นั้นฉันเพิ่งจะเห็นแจ้งแก่ใจเอาก็ตอนที่ได้มาลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเพื่อลงรายละเอียด ซึ่งผู้ที่เป็นแหล่งข้อมูลหากไม่เป็นภิกษุชราก็เป็นพ่อใหญ่แม่ใหญ่ทั้งสิ้น บางทีพวกท่านเหล่านั้นอาจจะกำลังเหงาด้วยลูกหลานนิยมมุ่งไปตายดาบหน้ากับความศิวิไลซ์ของเมืองหลวง
จักรินทร์ สร้อยสูงเนิน
ผมเป็นนักเขียนได้เกิดจากการอ่านหนังสือคนจะเขียนหนังสือต้องอ่านหนังสือ ถ้านักเขียนคนไหนไม่อ่านหนังสือ คุณจะเป็นนักเขียนได้แค่เศษสวะ และเป็นวรรณกรรมที่มาแล้วหายไป จะไม่มีชื่อปรากฏในวงการนักเขียนไทย
วรรณกรรมไทยจากมุมมองญี่ปุ่น ผ่านข้อเขียนของ โช ฟุกุโทมิ
ทางอีศาน 12: ส่วนวรรณกรรมไทยนั้น ได้รับความสนใจจากคนญี่ปุ่นน้อยมาก เว้นแต่งานเขียนของนักเขียนหนุ่มรุ่นใหม่อย่างปราบดา หยุ่น ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นแทบทุกชิ้น และคนอ่านญี่ปุ่นให้การต้อนรับค่อนข้างมาก เพราะอะไร เดี๋ยวค่อยพูดถึง โช ฟุกุโทมิ ชี้ว่า คนญี่ปุ่นมองวรรณกรรมไทยอย่างเป็น (แค่) “ไกด์บุ๊ค” ซึ่งก็คือหนังสือนำเที่ยวนั่นเอง !
คำโตงโตย : ทางอีศาน 12
อย่าได้วาจาเพี้ยงเขาฮอขมขื่น คำปากอย่าได้ตื้นคือหม้อปากแบน อย่าได้แสนแพนหน้าวาจาเว้าอ่ง ฝูงพี่น้องพงษ์เชื้อซิบ่มี(วรรณคดี “ย่าสอนหลาน”)