นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 113
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๓ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๔
ฉบับ "ห่าตำปอด"
“นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค”
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 113
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๓ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๔
“นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค”
ภาพปก: สุวรรณี สารคณา
ผักหวานบ้าน-ผักหวานป่า
ผักหวานของคนในกรุง กับผักหวานของคนชนบท เป็นไม้คนละชนิดกัน เพื่อมิให้สับสนชาวกรุงจึงเรียกผักหวานแบบดั้งเดิมที่พวกเขารู้จักว่า ผักหวานบ้าน และเรียกผักหวานของชาวชนบทว่า ผักหวานป่า ส่วนชาวชนบทยังคงเรียกผักหวานของเขาเช่นเดิม ไม่รับรู้ทั้งผักหวานบ้าน และผักหวานป่า
เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๙)
ฉบับนี้จะพามาทําความรู้จักกับเงินตราอีกชนิดหนึ่งที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เงินพดด้วง” ซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนเงินกลม มีขา ๒ ข้าง เป็นเงินที่คนไทยสยามผลิตใช้กันมาต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัยอยุธยา จนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๒
โรคระบาดโควิด–19 ในประเทศไทยดูเหมือนสถานการณ์รุนแรงขึ้นอีกระดับ เพื่อนนักเขียนหลายคนก็ติดเชื้อป่วยอำลาจากกันไปก่อน สถานการณ์ตามชุมชนแหล่งสลัมก็เกิดเรื่องน่าสังเวชขึ้นทุกวัน
ปริศนาพระแก้วมรกต จากปาฏลีบุตรถึงนครอินทปัตถ์
พระแก้วมรกต หรือ "พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร" เปรียบได้ดั่งมหากาพย์แห่งสุวรรณภูมิ ปรากฏรายละเอียดอยู่ใน "ตำนานรัตนพิมพวงศ์" ซึ่งรจนาโดยพระพรหมราชปัญญา พระภิกษุชาวล้านนา มีชีวิตอยู่ในช่วงระหว่างรัชกาลของพระเจ้าติโลกราชถึงพระเมืองแก้ว หรือช่วงพุทธศตวรรษที่ 20-21ถือเป็นยุคทองของวรรณกรรมล้านนาที่เกิดความนิยมในการรจนาด้วยบาลีปกรณ์