(๒) สู่เวิ้งจักรวาฬอันไพศาล

ฉบับที่แล้วฉันได้เล่าถึงมหานทีสีทันดรไป มานึก ๆ ดูก็รู้สึกจะข้ามขั้นตอนอยู่บ้าง ฉบับนี้จึงขอนอกกรอบของคอลัมน์ภาพกาก แล้วเล่าถึงภาพรวมของจักรวาฬ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเสพศิลปะแห่งภาพกากกันในคราวต่อ ๆ ไป ว่าแล้วเราก็มาน้อมจิตกันเสียก่อนที่จะเข้าเรื่องกันเถิด

นิทานเรื่องนางตันไต หรือปัญจะตันตระ (ตอนที่ ๑)

ผู้เขียนเคยเดินทางไปที่เวียงจันทน์เมื่อหลายปีมาแล้ว ได้มีโอกาสไปเยี่ยมหอสมุดแห่งชาติลาว และได้ซื้อหนังสือเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีลาวมาหลายเล่ม เล่มที่สำคัญคือ นิทานนางตันไต ผู้เขียนได้อ่านนิทานนางตันไตด้วยความเพลิดเพลินและสนุกสนานที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับสัตว์ต่าง ๆ ที่พูดได้ และผู้เขียนเคยถอดความของบทแรก ๆ ออกเป็นอักษรไทย และนำไปตีพิมพ์ในงานฌาปนกิจศพของญาติสองสามครั้งเป็นที่ถูกอกถูกใจของผู้ได้รับหนังสือนั้นไป

ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมอีสาน แหล่งภูมิปัญญาชาวอีสาน

“โรงเรียนฝึกหัดครู” ในอดีตนั้น ต่อมาก็คือ “วิทยาลัยครู” เปลี่ยนชื่อมาเป็น “สถาบันราชภัฏ” และปัจจุบันคือ “มหาวิทยาลัยราชภัฏ” สถาบันนามนี้ยุคสมัยหนึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็น “มหาวิทยาลัยคนยาก” ฉายานี้ได้มาเพราะคนในชนบทสมัยก่อน ๆ แม้จะเรียนเก่งปานใด โอกาสที่จะได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในเมืองนั้นยากเต็มที่

อาจารย์สุจิตต์ วงษ์เทศ ขยายความเรื่องประวัติศาสตร์ “ผู้ไท” “ขุนบรม” วีรบุรุษในตำนานของผู้ไท

ผู้ไทจากเมืองแถน (เวียดนาม) เป็นบรรพชนต้นทางคนไทยในเมืองไทย (คือรัฐอยุธยา) พบเบาะแสเค้ามูลอยู่ในลาวเมื่อพวกผู้ไทโยกย้ายจากเมืองแถนไปตั้งหลักแหล่งอยู่แขวงซำเหนือ (ใกล้แขวงหลวงพระบาง ในลาว) ถูกพวกลาวนับเป็นไทย คือไม่นับเป็นลาว

ประวัติและที่มา ทำไมจึงเรียกงานแต่งงานว่า “กินดอง”

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว เมื่อครั้งอดีตที่ผ่านมานั้นยังมีหนองน้ำใหญ่แห่งหนึ่ง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ของกินนานาชนิด จึงเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายเผ่าพันธุ์ได้เข้าอาศัยอยู่ ตามแหล่งน้ำดังกล่าวนี้ได้มีสัตว์น้อยใหญ่ทั้งหลาย ฝูงปลาเล็กใหญ่ต่างแหวกว่ายไปมาตามหนองน้ำใส ฝู

สดุดีโอลิมปิกเกมส์, ญี่ปุ่น

ท่ามกลางวิกฤติโรคห่าใหญ่ทั่วโลก ยอดจำนวนผู้ป่วยไข้และล้มตายพุ่งสูงขึ้นมากขึ้น ประเทศญี่ปุ่นยืนหยัดจัดกีฬาแห่งมนุษยชาติได้สำเร็จ
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com