กลอนบทละคร (๒)
เจ้าสตรีที่แต่งเรื่องอิเหนาและดาหลังในสมัยอยุธยาคือ เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดาของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ดูจากคำกลอนข้างต้น ก็น่าจะคิดว่า เรื่องอิเหนาและดาหลังที่ทรงแต่งไว้นั้นเป็นบทละคร และต้องแพร่หลายเป็นที่นิยมมาก
คนกับกลอน
วรรณคดีและชีวิตสามัญ
คือคลังแห่งภาษา
ภาษาคืออาวุธสำหรับการดำรงชีวิต
การเลี้ยงชีพให้มีความสุข การดำรงชีวิตให้อยู่รอด (ในโลกที่แสนจะโหดร้าย) ต้องพึ่งพาภาษาอย่างมาก ขั้นต้นคือภาษาพูด
ห า ก เ งี ย บ งั น คื อ ร่ำ ล า ฉั น เ ข้ า ใ จ
หรืออาจเป็น ความผิดเพี้ยน ของความรัก
ที่เกิดจาก ซากหัก ของโขดหิน
ที่เกิดจาก หยดน้ำ ร่วงสู่ดิน
ที่เกิดจาก แหว่งวิ่น ของคืนวัน
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ตอนจบ
หลังกลับจากนมัสการพระธาตุหัวอก ฉันได้เริ่มเขียนบันทึกการพเนจรตามรอยบาทพระเจ้าเลียบโลกฉบับอีสาน เวลาล่วงผ่านจากฤดูร้อนครั้งนั้นบัดนี้มองผ่านหน้าต่างห้องช่อดอกคูนกลับมาบานอีกรอบแล้ว
นับบ่ฮอดสาม
“กรณ์เอ้ย! ฮ้องบอกโซเฟอร์จอดรถให้พ่อแหน่ พ่อปวดขี้”
“เดี๋ยว ๆ” บักกรณ์ประวิงเวลา
พ่อเฒ่าอุ้ยก็ทนอดกลั้นไปได้สักระยะหนึ่ง
อาการปวดท้องก็หนักขึ้น
“กรณ์! บอกโซเฟอร์แม๊ะ กูปวดขี้แฮงแล้วเด้อ!” พ่อเฒ่าอุ้ยย้ำอีกครั้ง
เมื่อนักเดินทางมาถึง เมืองพยัคฆภูมิพิสัย (นาข่า)
ภายหลังจากตั้งเมืองพยัคฆภูมิพิสัย
ได้ 5 ปี ตามบันทึกการเดินทางของ เอเจียน แอมอนิเย (Etienne Aymonier) ตรงกับ พ.ศ.2427 เขาได้เดินทางเข้ามายังเมืองพยัคฆภูมิพิสัย