นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 84

มะอื่อสูง… สวัสดีปีใหม่ (๕)

คำว่า /มะอื่อสูง/ หรือที่เขียนกันในชั้นหลัง ว่า |ใหม่สูง| เป็นคำทักทายที่ชาวไทใหญ่ใช้เมื่อ พบปะกัน มีความหมายทำนองเดียวกับคำ “สวัสดี” ที่ใช้กันทั่วไปในภาษาไทยกลาง |สวัสดี| เป็นคำยืมจากภาษาสันสกฤตว่า |savasati| คำนี้มีที่ใช้ในภาษาเขมรด้วย ออกเสียงว่า /suasadey/ ในภาษาไทใหญ่ /มะอื่อ/ คือคำที่ออกเสียงได้ค่อนข้างยากสำหรับคนไทยทั่วไป

เมื่อนักเดินทางมาถึง เมืองพยัคฆภูมิพิสัย (นาข่า)

ภายหลังจากตั้งเมืองพยัคฆภูมิพิสัย ได้ 5 ปี ตามบันทึกการเดินทางของ เอเจียน แอมอนิเย (Etienne Aymonier) ตรงกับ พ.ศ.2427 เขาได้เดินทางเข้ามายังเมืองพยัคฆภูมิพิสัย

ผลงานของซาตานโรงงานผลิตเม็ดเงิน

ท่ามกลางความเวิ้งว้างของทุ่งนาเกลือร้าง กลางไอเค็ม มีโรงงานเก่าขนาดใหญ่ใช้ทำน้ำปลา และปลาเค็มกระป๋อง. ความโลภในทรัพย์สินได้ กลืนกินความเป็นคน, ไร้เมตตาธรรมมีความโหดร้ายผิดมนุษย์.

ลมหายใจแห่งอดีตที่ “นราธิวาส-เบตง”

“แบปา” ผู้ซึ่งได้พบเจอและเป็นผู้บอก เล่าข้อมูลพื้นฐานของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งโลกมลายูให้ได้รับรู้ เป็นคนที่ นายสมศักดิ์ คณาคำ นายอำเภอจะแนะ ช่วยประสานให้ครั้งที่ข้าพเจ้าเดินทางไปขอข้อมูล ณ ที่ว่าการอำเภอจะแนะ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ถือเป็น “ข้อต่อ” สำคัญที่ทำหน้าที่เชื่อมผู้คนในอดีตกับปัจจุบันให้ได้เจอกัน

พราหมณ์ พุทธ ผี ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

อภิเษก แปลว่า การรดน้ำ ถูกน้ำมาใช้เป็นขั้นตอนสำคัญของการเปลี่ยนสถานะของคนในสังคม ไม่ได้มีเฉพาะการเปลี่ยนสถานะบุคคลให้เป็นกษัตริย์ ในพระราชพิธีที่เรียกว่า “บรมราชาภิเษก”

ปิดเล่ม

คอลัมน์นี้เขียนก่อนวันเลือกตั้ง และไม่รู้ผลการเลือกตั้งว่าเป็นอย่างไร แต่ก็ยังเชื่อว่า “เมืองไทยก็ยังคือเมืองไทย”เมืองไทยจะยังไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเพราะการเลือกตั้งครั้งนี้หรอก

ตำซั้ว : จากเชียงคานสู่ รังสิตธรรมศาสตร์

ตำซั้วเชียงคานที่แปลกและแตกต่างคือใช้ผักสดลวก ลวกแบบสะดุ้งน้ำร้อนแล้วขึ้นเลย ไม่แช่นาน ทำให้กรอบ ผักที่ใช้เป็นของพื้นบ้านเชียงคานปลูกกันเอง

บัวขาว ผิวดำ

บัวขาว บัญชาเมฆ หรือ สมบัติ บัญชาเมฆหรือจะมีชื่ออื่น ๆ ตามที่เขาตั้งกันขึ้นมาอีกมากมายก็ตาม เรื่องความเป็นคนสู้ชีวิตของ “ ลูกข้าวเหนียว ” คนนี้ “ทางอีศาน”

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 84 – ทางอีศาน
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๘๔ ปีที่ ๗ ประจำเดือนเมษายน ๒๕๖๒

“นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค”

เรื่องเด่นในฉบับ
– พราหมณ์ พุทธ ผี ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
– ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว และ ข้าวสาลี โดย สันติ เศวตวิมล
– นัดพบ ผศ.ดร. เจริญชัย ชนไพโรจน์ พ่อครูดนตรีพื้นบ้านและดนตรีโลก
– ตาม “ลาว คำหอม” ไปเยี่ยมบ้านกนกพงศ์ โดย ประวี ศรีนอก
– ลมหายใจแห่งอดีตที่ “นราธิวาส – เบตง” โดย ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์
ภาพปก : วรวิทย์ แก้วศรีนวม

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com