Day

กุมภาพันธ์ 16, 2019

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)

“ฮู้จักพระวอพระตาไหม เจ้ากินเกลือบ้านได๋ เคยไปเอาบุญพระธาตุบ่” เป็นคำถามที่ ผศ.อมฤต หมวดทอง อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้เสมอในยามที่ออกไปเก็บข้อมูลภาคสนามในเรื่องเกี่ยวกับแหล่งเกลือในภาคอีสาน และมักได้ฟังเรื่องเล่าเก่าก่อนเป็นผลพลอยได้

จากร้านแผ่นเสียงถึงค่ายเพลง คงเหลือแต่ตำนาน

โลกของความบันเทิง โดยเฉพาะศิลปะด้านเสียงเพลง คงมีติดตัวสืบทอดกันมาตั้งแต่เกิดเป็นมนุษย์โน่นแหละ พัฒนาจากการร้องโหวกเหวก โหยหวน

เรื่องลี้ลับแปลก ๆ

เชื่อว่าคนไทยชาวพุทธส่วนมากเคยมีประสบการณ์กับเรื่องมหัศจรรย์แปลก ๆ มาบ้างในชีวิต จะน้อยจะมากต่างกันไป วันนี้มีเรื่องลี้ลับ มาเล่าสู่กันฟัง

คำสุดท้าย

สังคมในยุคปัจจุบัน นับวันจะรัดตัวมากขึ้น เพราะเป็นยุคแห่งการแข่งขัน ใครมัวแต่อืดอาดยืดยาด จะไม่ทันคนอื่นเขา ดังคำกล่าวว่า “ยุคสารสนเทศ ขอบเขตแข่งขัน แต่ละวันเปลี่ยนแปลง” ก็จริงนะ ยุคนี้ใครไม่ติดตามข่า...
Read More

สโมสรนักเขียนภาคอีสาน : ตำนานคนวรรณกรรมจากที่ราบสูง (๕)

ครูภาษาไทย ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น จากเมืองพล เชี่ยวชาญทั้งอักษรไทย อักษรธรรม เขียนบทกวี บทเพลง บทวีดิทัศน์ นำเสนอเรื่องราวแสง สี เสียง ความเป็นมาของท้องถิ่น

ไขป่องเอี้ยมเยี่ยมเบิ่งลาว ตามฮอยศรัทธาญาคูขี้หอม (๕-จบ)

หลังนอนหลับฝันหวานถึงหมอลำสาว “อินแต่ง แก้วบัวลา” กุหลาบปากเซที่ส่งกลิ่นหอมอบอวลไปทั่วโลก (หมายถึงผลงานและชื่อเสียงของเธอที่เผยแพร่ในยูทูป) ตลอดทั้งคืน ทำให้ตื่นขึ้นมาอย่างมีความสุข สดชื่น ความทุกข์มลายสิ้น เสียงลำอันไพเราะเพราะพริ้ง ยังดังก้องอยู่ในโสตประสาทมิเลือนหาย

ตามรอย “พ่อหลวงรัชกาลที่ ๙” และ “แม่ของคนไทย” บนผืนป่าต้นน้ำและสายธารน้ำตกใน “โรงเรียนห้วยสวายวิทยา”

“ค่ายศิลป์รักษ์ป่า” (ห้วยสวาย) จัดขึ้นโดยสาขาสาธารณชุมชน วิทยาศาสตร์การอาหาร ชมรมศิลป์สัมพันธ์ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com