คนกับกลอน – คำว่า “กลอน” ๒
“กลอน” คือร้อยกรองที่มีสัมผัสสระร้อยโยงเชื่อมระหว่างวรรค
“โคลง-กลอน” เป็นรูปแบบฉันทลักษณ์ที่มีลักษณะร่วมกัน ในกลุ่มตระกูลภาษาไท กะได คือมีส่งสัมผัสสระไปที่กลางวรรคต่อไป นี่เป็นอัตลักษณ์สำคัญของบทกวีในตระกูลภาษาไท กะได
หั ว ป ลา
บักหมอนดำเนินการปรุงอาหารอยู่ใน
ครัว พ่อเฒ่าอารมณ์ล้างมือ แล้วไปนั่งคอยเวลากินข้าวที่โต๊ะอาหาร บักหมอนยกสำรับออกมาวางบนโต๊ะ! พ่อเฒ่าอารมณ์ถึงขั้นหมดอารมณ์!
เมื่อมองไปยังชามต้มส้มปลาใส่ใบมะขามอ่อน...
วัฒนธรรมแถน : อ่านเอกสารชั้นต้นกันก่อน (๑)
เรื่อง “พญาแถน” เป็นตำนานที่ชนเผ่าไท-ลาว ทั้งกลุ่มไทน้อยและกลุ่มไทใหญ่มีร่วมกันเรื่องพญาแถนยังเป็นต้นเค้าของวัฒนธรรมไท-ลาวดั้งเดิม (ก่อนรับพุทธศาสนา) ทั้งในด้านวิถีชีวิตประจำปีและด้านการเมืองการปกครอง
ลุ่มแม่น้ำโขงยุคก่อนประวัติศาสตร์ในตำนานอุรังคธาตุ
ยุคประวัติศาสตร์เริ่มต้นเมื่อมนุษย์มีการจดบันทึกเรื่องราวเป็นลายลักษณ์อักษร สำหรับดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแล้วน่าจะเริ่มต้นประมาณพุทธศตวรรษที่ ๗ เป็นต้นมา ซึ่งหมายความว่าก่อนหน้านั้นเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์
ปฐมบทแห่งชีวิต: อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา ตอนที่ ๒
ที่นี่ ผมเริ่มเป็นเด็กหนีเรียน แต่ไม่ได้หนีไปเกเรที่ไหน คือผมชอบเช่าหนังสือนิยายไปหลบอ่านอยู่แถวริมฝั่งมูล บางวันก็ข้ามไปหาดวัดใต้หามุมสงบอ่านนิยาย นิยายที่อ่านส่วนมากเป็นบทประพันธ์ของ ป.อินทรปาลิต อย่างเรื่อง เสือดำ เสือใบ แดนดาวโจร และหัสนิยาย พลนิกรกิมหงวน ชุดสามเกลอ อ่านแล้วหัวเราะท้องคัดท้องแข็ง ทั้งงานประพันธ์ของ จ. ไตรปิ่น ไม้ เมืองเดิม ยาขอบ มนัส จรรยงค์ อ่านลุยไปเรื่อย ทั้งกาพย์กลอนโคลงฉันท์