บรูไน : ใน-นอก ความเป็นมลายู (๑)
พรมแดนแผ่นดินมิอาจเชื่อมต่อ
หากทว่าแผ่นฟ้าผืนน้ำย่อมมีหัวใจ
ปลดปล่อยจิตวิญญาณที่คับแคบ
เปิดประตูสัมพันธ์ให้กว้างและลึกดุจดั่งมหาสมุทร
มุ่งสู่เมืองปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา
ช่องแคบซุนดาในค่ำคืนเดือนมืด ๒ ทุ่มกว่า ไม่เห็นแม้กระทั่งริ้วคลื่น หากทว่าแสงระยิบระยับจากเรือบางลำที่ยังคงสัญจรผ่านน่านน้ำแห่งนี้ ขับเน้นให้ภาพอดีตของเมืองยุคเรืองโรจน์ปรากฏฉายโชน ก่อนอาณาจักรศรีวิชัยจะกุมอำนาจและเคลื่อนเส้นทางข้ามสมุทรเชื่อมโลกเข้าด้วยกัน จาก “ช่องแคบซุนดา” สู่ “ช่องแคบมะละกา”
มะละกา : จารึกผ่านรอยจำ น้ำตา และสายเลือด
แม้นมิอาจเดินทางไปสัมผัสอาณาเขตของโลกมลายูได้ทั้งหมด “มะละกา” ที่ข้าพเจ้าได้สัมผัสกลับนับเป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดสำคัญของความเป็นมลายู นอกจากเป็นหนึ่งในต้นธารการก่อเกิดของคำ “โลกมลายู” แล้ว ยังเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า ๖ ศตวรรษ
ลมหายใจแห่งอดีตที่ “นราธิวาส-เบตง”
“แบปา” ผู้ซึ่งได้พบเจอและเป็นผู้บอก
เล่าข้อมูลพื้นฐานของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งโลกมลายูให้ได้รับรู้ เป็นคนที่ นายสมศักดิ์ คณาคำ นายอำเภอจะแนะ ช่วยประสานให้ครั้งที่ข้าพเจ้าเดินทางไปขอข้อมูล ณ ที่ว่าการอำเภอจะแนะ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ถือเป็น “ข้อต่อ” สำคัญที่ทำหน้าที่เชื่อมผู้คนในอดีตกับปัจจุบันให้ได้เจอกัน
ตามรอยคนพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งโลกมลายู
“ความหลากหลายเป็นสิ่งสวยงาม เหมือนดอกไม้ต่างสีหลากชนิด สามารถนำมารวมกันได้ อยู่ที่ว่าจะจัดวางอย่างไรให้อยู่ในแจกันเดียวกันได้อย่างลงตัว”
ศูนย์กลางอาณาจักรศรีวิชัย
ย้อนไปในอดีต ในฐานะแผ่นดินซึ่งเป็นจุดร่วมของ ๓ น่านน้ำสำคัญ คือ ทะเลจีนใต้ ทะเลอันดามัน และอ่าวไทย “อาณาจักรศรีวิชัย” หรือ “รัฐศรีวิชัย”
วัดริมทะเล วิหารบนหินผา และหัวใจในอากาศ
โลกมีเพียงใบเดียว มนุษย์กำเนิดจากรากเหง้าเผ่าพันธุ์เดียวกัน
หากเมื่อแผ่นดินถูกขีดเส้นแบ่ง สำนึกถูกครอบงำด้วยอวิชชาและความโลภ
นับจากนั้นมา... โลกก็ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป