ผ้าป่าทางอีศาน (๑)
“วันอาทิตย์นี้พ่อไปธารโตนะ” ผมบอกภรรยา หลังจากขับรถตระเวนไปพบปะพี่น้องหมู่เฮาที่สวนทดลองยางยะลา
งึด
สนามสอบสามเณรที่ประเทศเพื่อนบ้าน
เล่นไพ่
เคยมีคำสอนเป็นผญาโบราณอีสานที่เขียนไว้เตือนสติว่า “ของบ่เป็นตาจ้ำ อย่าสิจุ่มลงเหลิก (ลึก) ของบ่เป็นต๋ากิ๋น อย่ากิ๋น สิพวนท้อง (คลื่นไส้)”
สื่อสิ่งพิมพ์
ผมไม่ใช่คนหัวใหม่ไอที แต่จัดอยู่ในพวกโลโบราณมากกว่า เครื่องเล่นคนรุ่นใหม่ โทรศัพท์มือถือก็ได้แต่โทรออกและรับเข้า สมาร์ทโฟนก็เล่นไม่เป็น แต่พอดูได้
ทำไมปลาจึงเป็นอาหารมนุษย์
มังสังที่พระอินทร์ส่งมานั้น จะนอนขวางสายน้ำไว้ ปลาที่อาศัยเหนือน้ำจะลงมาข้างล่างหรือไหลมาตามสายน้ำก็ไม่ได้ เมื่อมนุษย์ต้องการอาหารเมื่อใดก็จะมีมีดหรือเครื่องมืออื่น ๆ มาชำแหละหรือเฉือนเอาชิ้นเนื้อของมังสังไปเป็นอาหาร เฉพาะเป็นวัน ๆ เท่านั้น
เรื่องลี้ลับแปลก ๆ
เชื่อว่าคนไทยชาวพุทธส่วนมากเคยมีประสบการณ์กับเรื่องมหัศจรรย์แปลก ๆ มาบ้างในชีวิต จะน้อยจะมากต่างกันไป วันนี้มีเรื่องลี้ลับ มาเล่าสู่กันฟัง
คำและความหมาย เข้าใจโลก เข้าใจชีวิต
“คำว่า artificial intelligence แปลกันเป็นไทยและติดตลาดไปแล้วว่า “ปัญญาประดิษฐ์” ซึ่งผมไม่เห็นด้วย อยากใช้คำว่า “สมองประดิษฐ์” มากกว่า
อิหล่า
อิหล่า คำเรียกลูกสาวคนสุดท้องหรือคนเล็ก
เยาวชนคนมีภูมิ
เด็กเยาวชนมีศักยภาพที่จะเติบโตอย่างมีคุณภาพได้ ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเหมาะสม อะคาเดมีชีวิต (Life Academy) มีแผนงานที่จะทำโครงการพัฒนาเยาวชนคนมีภูมิ ให้มี ๓ ภูมิ คือ ภูมิธรรม ภูมิปัญญา และภูมิฐาน
ไผว่าอีศานฮ้าง
ยามบ่ายตะวันคล้อย แสงแดดอ่อน ๆ ลมไล้โชยมายามเย็น ภาพที่เห็นผู้สาวนั่งทอผ้าอยู่ที่ในบริเวณบ้านเรือนของตน แม้จะมีอยู่ไม่มากเรือนนัก แต่ก็เห็นได้ว่ายังมีการทอผ้า คนทอผ้าอยู่และผ้าทอจากฝีมือของผู้สาวบ้านนี้ยังมีอยู่
เหลียวหลังแลหน้า
“คันสิไปเมือหน้าให้เหลียวหลังคืนเบิ่ง มันมะลึดทึดเท่าเซาก่อนซุฟ่าวไป เดินทางไก๋ให้เหลียวหลังแลหน่า ฟ้าฮั่มฮ้องน้องผัดยังคาแอ๋ว”
ยาและอาหาร
ผู้คนใน พ.ศ. นี้เริ่มตระหนักถึงภัยร้าย - ที่เป็นภัยเงียบ - มากับอาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนั่นแหละ - ยาฆ่าแมลงยากำจัดวัชพืช - สารเร่งเนื้อแดงเร่งการเจริญเติบโต ฯลฯ
อดิศักดิ์ ไกรษร สร้างตำนานทีมไทย
อดิศักดิ์ ไกรษร สร้างตำนานทีมไทย
ลงสนาม ๓ นาทียิง ๑ แล้วยิงคนเดียว ๖ ประตู
ผิดที่ผิดทาง ผิดจังหวะ การนำเสนอที่ขาดทักษะ
การทำอะไรผิดที่ผิดทาง ตามคำโบราณว่า “ผิดฝั่งผิดฝา” โดยขาดการไตร่ตรอง หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดี จะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม คนโบราณจึงเตือนให้เอาใจเขามาใส่ใจเรา คือให้ประเมินความรู้สึกของคนอื่นด้วย หรือจะพูดให้เป็นวิชาการหน่อยก็คือ “การนำเสนอที่มีทักษะ” จึงน่าจะนำมาเป็นแง่คิดในข้อเขียนฉบับนี้ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้