Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๓ (๗)

รอยพระพุทธบาทที่นี่แม้เป็นรอยที่เกิดโดยธรรมชาติ แต่แตกต่างจากที่เคยเห็นมาเป็นอันมาก คือ เป็นรอยเท้าขนาดใหญ่ แต่ปลายนิ้วทั้ง ๕ ดูคล้ายกับลื่นไถลนิดหน่อยก่อนจะฝากรอยจมลึกลงในโคลน ทาด้วยสีทอง

ยโสธร

จังหวัดยโสธรเป็นเมืองอุตสาหกรรมและแหล่งผลิตสินค้าหัตถกรรมพื้นเมือง ควบคู่กับการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นจุดพักสินค้าระหว่างโครงการชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกกับอินโดจีน

ตลาดคำไฮ : ตลาดเย็นที่ใหญ่ที่สุดของขอนแก่นกับความหลากหลายทางวัฒนธรรมการกิน

ก่อนเกิดตลาดคำไฮ เมืองขอนแก่นมีตลาดสดอยู่แล้ว ๔ ตลาด ตลาดแรกคือ ตลาดเทศบาล ๑ ซึ่งเดิมตั้งอยู่ตรงโรงหนังขอนแก่นตรงข้ามธนาคารไทยพาณิชย์สาขาขอนแก่น ถนนศรีจันทร์ในปัจจุบัน ตั้งตลาดนี้ราว ๆ ปี ๒๔๕๐ (รัชกาลที่ ๕) ต่อมาในปี ๒๔๙๘ เกิดไฟไหม้ใหญ่ตลาดขอนแก่น จึงย้ายมาตั้งตรงเรือนจำซึ่งให้ย้ายออกไป แล้วตั้งตลาดเทศบาลแทนซึ่งอยู่มาถึงปัจจุบัน

ท้าวปาจิต – นางอรพิม : จากตํานานท้องถิ่น สู่ชาดกนอกนิบาต

“พี่มาเมือง” คําอุทานของนางอรพิม ที่กล่าวขึ้นเมื่อได้พบกับท้าวปาจิต จนเป็นที่มาของ ชื่อ “พิมาย” เรื่องราวจากวรรณกรรมมุขปาฐะ ที่เล่าขานอธิบายภูมินาม ที่ซ่อนทับโบราณสถาน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินทางพุทธวัชรยาน ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย รวมถึงชื่อบ้านนามเมืองหลายแห่งในลุ่มแม่นํ้ามูล

ตามรอยเส้นทางสายวัฒนธรรม พระปาจิต นางอรพิม

ตํานานท้องถิ่นเรื่องปาจิต-อรพิมนั้น ได้เป็นที่รู้จักกันในฐานะที่เป็นมุขปาฐะมายาวนาน และได้รับการบันทึกในรูปใบลานที่พบเห็นได้ตามท้องถิ่น

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๒ (๖)

ฮอยบาทพระเจ้าอยู่นี่ มีอยู่บ่เอื้อย” พนักงานต้อนรับของโรงแรมและมัคคุเทศก์สาวชาวลาวเวียงที่รอลูกค้าอยู่ในโถงล็อบบี้พร้อมใจกันย้อนถาม เมื่อฉันถามถึงตำแหน่งที่ตั้งของรอยพระพุทธบาท

ดนตรี วิถีผู้ไท ในมนต์เสน่ห์บ้านสวนนอเวียง – รสสา

ผืนนาลุ่มชุ่มน้ำของบ้านสวนนอเวียง – รสสา มีบ่อน้ำใสสะอาดอยู่ติดกับลำห้วยสายบ่อแก อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านบ่อสะอาด เป็นบ่อน้ำซับธรรมชาติที่ผุดขึ้นจากใต้ดินตลอดปี หล่อเลี้ยงชีวิตบรรพบุรุษชาวผู้ไท

ภาพพระบฏ

“พระบฏ” ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้น และแขวนไว้เพื่อบูชา คำว่า “บฏ” มาจากคำในภาษาบาลีว่า ปฏ (อ่านว่า ปะ-ตะ) แปลว่า ผ้าทอ หรือผืนผ้า

แถน ในตำนานอุรังคธาตุ

แม้ว่า ตำนานอุรังคธาตุจะเป็นเรื่องราวของราชวงศ์กับพุทธวงศ์ แต่ในเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ล้านช้าง ไม่อาจปฏิเสธการก่อร่างสร้างอาณาจักรตามคติแถน ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิม ก่อนที่จะถูกซ้อนทับกลืนกลายด้วยคติพุทธ

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๑ (๕)

เมื่อ ๖ เดือนก่อน...ฉันได้รับอีเมลสำเนาเอกสารใบลานเรื่อง “ตำนานธาตุหัวอกพระเจ้า” ของวัดใหม่สุวรรณภูมาราม เมืองหลวงพระบาง จากพระอาจารย์ไพวัน มาลาวง

มะละกา : จารึกผ่านรอยจำ น้ำตา และสายเลือด

แม้นมิอาจเดินทางไปสัมผัสอาณาเขตของโลกมลายูได้ทั้งหมด “มะละกา” ที่ข้าพเจ้าได้สัมผัสกลับนับเป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดสำคัญของความเป็นมลายู นอกจากเป็นหนึ่งในต้นธารการก่อเกิดของคำ “โลกมลายู” แล้ว ยังเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า ๖ ศตวรรษ

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : พญานาคเกเรแห่งรอยพระพุทธบาท หมายเลข ๓ (๔)

หลวงพ่อเจริญเจ้าอาวาสวัดป่าแห่งหนึ่งในอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ที่ฉันให้ความเคารพเคยบอกไว้ตั้งแต่ยังเป็นเพียงเด็กสาวอ่อนเดียงสา เพราะเห็นว่าชอบอ่านนิทานพื้นบ้านตำนานต่าง ๆ ราวกับท่านได้เล็งเห็นว่าหากมีวิชาความรู้ก็เหมือนมีทรัพย์ที่จะได้ใช้ในอนาคต

หลวงพ่อคูณ : เทพเจ้าด่านขุนทด ในความทรงจำ

แม้ว่าร่างกายสังขารวิญญาณ พระเทพวิทยาคม หรือหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ จะสลายร่างลับล่วง แม้เถ้าถ่านก็ละลายไปกับสายแม่น้ำโขง ทำไมพระบ้านนอกธรรมดา ๆ องค์หนึ่งจึงยังคงอยู่ในหัวใจอยู่ในความทรงจำของพุทธศาสนิกชน

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – บทนำ

“ทวดคือพ่อของปู่” สีโหเอ่ยชื่อบรรพบุรุษ “จารย์บุญคือ ทวดของปู่เฮือง...” “ถูกต้องแล้ว” แกบอกสีโห “ผมคือหลานแท้ ๆ ของจารย์แก้วกับย่าแพง”
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com