กิจกรรมงานสายธารวัฒนธรรมเพื่อชีวิตฯ ทัวร์วัฒนธรรมอีศาน ณ บ้านหัวงัว อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
คำว่า “วัฒนธรรม” หรือมีผู้เสนอใช้คำ “พฤติธรรม” ที่ถอดมาจากคำภาษาอังกฤษ “Culture” ในส่วนงานวัฒนธรรมสมควรทำหน้าที่บำรุงเลี้ยงและกำกับสั่งงานการเมืองและงานความมั่นคง เสมือนหัวใจและสมองที่หล่อเลี้ยงและสั่งงานแขนขา รวมทั้งอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
คำว่า “เพื่อชีวิต” ไม่เพียงผูกโยงกับงานการเมือง แต่ครอบคลุมทุกองคาพยพทุกมิติของการขับเคลื่อนทางสังคม
ฟอสซิลปลาโบราณ “ภูน้ำจั้น” บ้านดงเหนือ ต.เหล่าใหญ่ อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
มีการค้นพบ ฟอสซิลปลาโบราณกว่า 100 ซาก และถือว่าเป็นการค้นพบฟอสซิลปลาโบราณครั้งแรกในประเทศไทย โดยปลาที่พบเป็น’ปลาเลปิโตเทสิ’ ปลาน้ำจืดมีความยาวประมาณ 30–60 ซม. ซึ่งมีชีวิตอยู่เมื่อ 65 ล้านปีที่แล้วและสูญพันธุ์ไปพร้อมไดโนเสาร์ โดยซากฟอสซิลปลาโบราณส่วนใหญ่สภาพสมบูรณ์ ก๊าซออกซิเจนเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้แบคทีเรียเติบโตไม่สามารถเข้าถึงซากปลาได้ ซากปลาจึงไม่เน่าและถูกเก็บรักษาไว้ในชั้นหิน
โศกนาฏกรรมการก่อเกิดบ้านเหล่าใหญ่ ทัวร์วัฒนธรรมอีศาน – ลึกซึ้งรากเหง้าวิถีพี่น้องผู้ไท
การอพยพย้ายถิ่นผู้ไทเหล่าใหญ่
บรรพชนคนผู้ไทเคยยิ่งใหญ่มาเก่าก่อน แต่ด้วยเหตุที่มีนิสัยรักความสงบ ชอบความอิสระ ใช้ชีวิตเรียบง่าย ชอบอาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่มีชายป่า เชิงภูเขา ชอบทำการเกษตร มีภาษาพูดเป็นภาษาผู้ไท มีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง บรรพบุรุษของคนผู้ไทอยู่ที่เทือกเขาอัลไต เมืองน่านเจ้า ไม่ชอบการปกครองของฮ่องเต้เมืองจีน จึงได้อพยพมาสร้างบ้านแปงเมืองอยู่สิบสองปันนา สิบสองจุไท เรียกเมืองนาน้อยอ้อยหนู เขตรอยต่อระหว่างประเทศเวียดนาม กับประเทศลาว
เที่ยวไปตามความ (ใฝ่) ฝัน – ๑
ระหว่างบ้านทางแบ่งไปหลักซาว รถแล่นบนยอดเขาขึ้นลง และข้างทางเป็นภูเขาใหญ่น้อยสวยงามจนไม่สามารถหาคำใด ๆ มาบรรยายได้...ไพรพฤกษ์เมืองลาวนี้อุดมสมบูรณ์ทำให้มีสายน้ำซับ น้ำตกและกระแสธารตลอดเส้นทางที่ผ่านเป็นระยะ ๆ
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ตอนจบ
หลังกลับจากนมัสการพระธาตุหัวอก ฉันได้เริ่มเขียนบันทึกการพเนจรตามรอยบาทพระเจ้าเลียบโลกฉบับอีสาน เวลาล่วงผ่านจากฤดูร้อนครั้งนั้นบัดนี้มองผ่านหน้าต่างห้องช่อดอกคูนกลับมาบานอีกรอบแล้ว
“มา นา เด้อ” : ร้านกาแฟเทรนใหม่ชานเมืองดอกบัว
มาเด้อ มาจิบกาแฟกลางทุ่งนากันเด้อ! คำเชิญชวนจากมิตรสหายของผู้เขียนหลายครั้งผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทีแรกผู้เขียนก็อดสงสัยไม่ได้ว่า “ไปทานกาแฟอะไรกันที่กลางทุ่งนา ทำไมไม่ทานในห้องแอร์เย็น ๆ เหมือนที่คนในสังคมเมืองเขาทำกัน” แต่พอมาถึง ความคิดของผู้เขียนกลับเปลี่ยนไปในทันที กลิ่นดินและโคลน สาบควายที่หลายคนคิดถึง ในวันนี้บรรยากาศเหล่านั้นได้กลายมาเป็นคาเฟ่สุดชิคที่มีบรรยากาศชวนให้คิดถึงในวัยเด็กกันแล้ว
“บ้านเดื่อ” จากหมู่บ้านเกษตรริมโขง สู่หมู่บ้านท่องเที่ยว
หากมาที่ชุมชนบ้านเดื่อแล้วสิ่งหนึ่งที่ถือเป็นเสน่ห์และความแตกต่างที่ทำให้ชุมชนบ้านเดื่อไม่เหมือนใคร คือการหยิบยกเอาลูกมะเดื่อ ไม้ยืนต้นที่มักจะเกิดตามริมฝั่งน้ำ โดยเฉพาะแม่น้ำโขงที่เป็นชื่อหมู่บ้านมาเป็นจุดเด่นและจุดขายของชุมชน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ ไม่ไป ไม่ผิด แต่น่าเสียดาย
เพียงแค่แลดูรูปทรงสถาปัตยกรรมของตัวอาคาร ก็ได้ใจ ชวนให้เข้าไปชมอย่างไม่ลังเลใจเลย เข้าไปแล้วก็ไม่ผิดหวัง เพราะนำเสนอความเป็นมาจากอดีตถึงปัจจุบันของสุรินทร์อย่างตั้งอกตั้งใจ ไม่ใช่แค่เอาของเก่ามาวางกองให้ดูรก ๆ แล้วเข้าใจว่านั่นคือสิ่งที่เรียก “พิพิธภัณฑ์”
ตาม “ลาว คำหอม” ไปเยี่ยมบ้านกนกพงศ์
เขามีผมหยิกยาวหยองน้อยในสไตล์เร็กเก้ นั่งตำน้ำพริกครกยักษ์อย่างตั้งอกตั้งใจอยู่หน้าครัวหลังคามุงจาก ที่บ้านไร่ธารเกษม “กนกพงศ์จะทำอะไร”
“คั่วกลิ้งครับ”
เป็นครั้งแรกที่ฉันรู้จักคำว่า “คั่วกลิ้ง”
ท่องทิพยวิมานอีสานใต้ ฮินดูดราม่า ณ เมืองต่ำ (๓)
มูลนิธิทางอีศาน จัดรายการทัศนศึกษาแหล่งโบราณสถานประเภทปราสาทหิน ซึ่งมีสถานะเป็น“ทิพยวิมาน” หรือ“เทวาลัย”
ท่องทิพยวิมานอีสานใต้ ประทับไว้ในดวงจิต (๒)
มูลนิธิทางอีศาน จัดรายการทัศนศึกษาแหล่งโบราณสถานประเภทปราสาทหิน ซึ่งมีสถานะเป็น “ทิพยวิมาน” หรือ “เทวาลัย” ของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู
ไขป่องเอี้ยมเยี่ยมเบิ่งลาว ตามฮอยศรัทธาญาคูขี้หอม (๕-จบ)
หลังนอนหลับฝันหวานถึงหมอลำสาว “อินแต่ง แก้วบัวลา” กุหลาบปากเซที่ส่งกลิ่นหอมอบอวลไปทั่วโลก (หมายถึงผลงานและชื่อเสียงของเธอที่เผยแพร่ในยูทูป) ตลอดทั้งคืน ทำให้ตื่นขึ้นมาอย่างมีความสุข สดชื่น ความทุกข์มลายสิ้น เสียงลำอันไพเราะเพราะพริ้ง ยังดังก้องอยู่ในโสตประสาทมิเลือนหาย
CBT การท่องเที่ยวโดยชุมชน ผู้ไทบ้านห้วยหีบ ร่วมกับ สมาคมผู้ไทโลก
"กิ๋นข้าวโฮ่มพา กิ๋นปลาโฮ่มหนอง เท่อที่ ๒" ในระหว่างวันที่ ๑๒-๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒ ณ ลานเฮือนผู้ไทห้วยหีบ บ้านห้วยหีบ ตำบลตองโขบ อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร
“ท่าพระ” เมืองนี้ที่อยากให้ไปเยือน
ตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น แม้จะเป็นเพียงตำบลเล็ก ๆ ที่เป็นทางผ่านไปสู่มหานครขอนแก่นหัวเมืองหลักของอีสาน
มัณฑเลย์… สะ พา น ข้า ม กา ล เ ว ลา ตอนจบ
ภายในพระตำหนักไม้สัก เรียกได้ว่ามีการแกะสลักทั้งหลัง ด้านในยังมองเห็นทองคำที่ปิดไว้อร่ามงามตา พระเจ้ามินดงเป็นกษัตริย์ผู้สร้างพระราชวังมัณฑเลย์ (พ.ศ.๒๔๐๐) พระตำหนักแห่งนี้จึงทรงคุณค่าอย่างมาก หลังจากพระองค์สวรรคตในพระตำหนักนี้ (พ.ศ.๒๔๒๑)