Tag

ทางอีศาน107

“คารคี” ฤๅษีหญิงแห่งโลกตะวันออก

โลกปรัชญาตะวันออกของภารตประเทศหรืออินเดียโบราณได้เคยมีปรากฏการณ์ทางปรัชญาของบรรดานักปรัชญาหญิงในยุคพระเวท (1500-500 BCE) ที่ถือกันว่าเป็นยุคแรกของอารยธรรมอารยันในอินเดีย ชาวภารตะโบราณเรียกนักปรัชญาในยุคนี้ว่า “ฤๅษี” คำว่า ฤๅษี มาจากคำว่า Rishis ในภาษาสันสกฤต ซึ่งหมายถึงฤๅษีชาย ส่วนฤๅษีหญิงนั้นภาษาสันสกฤตใช้คำว่า Rishikas คัมภีร์ฤคเวท (Rig Vedic)

ร่องรอยหลักฐาน

พ่อเฒ่าสุทัศน์ เป็นคนย้านเมียมาตั้งแต่แต่งงานวันแรกจนถึงปัจจุบัน การกระทำกิจกรรมใด ๆ ต้องอยู่ในกรอบที่เมียกำหนดทุกเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องผู้หญิง พ่อเฒ่าสุทัศน์จะถูกเมียตัดสิทธิ์โดยสิ้นเชิง อย่าให้มีหลักฐานให้รู้เห็นเป็นอันขาดถ้าได้พบเห็นเป็นต้องเกิดเรื่องใหญ่เป็นแน่แท้!

แม่ผู้เพาะต้นกล้าภาษา และวัฒนธรรมไทยในสวิส

“แม่ ใจเย็น ๆ แม่รอคิวก่อน” เสียงเด็กชายหน้าตาฝรั้งฝรั่ง จับมือแม่บอกแม่ใจเย็น ๆ ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ท่าตูม เมืองสุรินทร์ หรือที่กรุงเทพ ย่อมไม่แปลก แต่ที่แม่ลูกยืนคุยกันอยู่นั้นคือที่ เมืองเวททิงเง่น รัฐอาร์เกา สวิตเซอร์แลนด์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดสตรีนิยมนักคิดสตรีนิยม และสตรีนิยมสายต่าง ๆ

แม้ เพลโต (Plato) นักปรัชญากรีก เคยกล่าวถึงความเท่าเทียมทางสังคมระหว่างผู้หญิงและผู้ชายอันเป็นรากฐานของรัฐที่ดีงามในหนังสือชื่อ อุตมรัฐ (The Republic)

ร่องรอย “ผู้หญิงเป็นใหญ่” ในตำนานไท-ลาว

ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่สัมพันธ์กับไทคดีศึกษา นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา โบราณคดี ภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ฯลฯ จำนวนหนึ่งเชื่อว่าสังคมไท-ลาว (คนที่พูดภาษาตระกูลไท-ลาว) ในสมัยโบราณเมื่อครั้งยังนับถือผี (เทพ/แถน/พระเจ้า-ในภาษาอังกฤษใช้คำเดียวกันคือ Animism) ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เคยเป็นสังคมที่มีแม่เป็นศูนย์กลางหรือแม่เป็นใหญ่

วิจิตร นาเมืองรักษ์ “ผู้หญิง คือ แม่ผู้อ่อนโยนและเข้มแข็ง”

"ผู้หญิงถือเป็นเพศแม่ ถือเป็นผู้ให้กำเนิดชีวิตและรักษาชีวิต มีความงดงาม อ่อนโยน และเสียสละเข้มแข็งอยู่ในตัว..."

บทบรรณาธิการ เข้มแข็งและสร้างสรรค์

การเคารพตนเอง เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นคนหรือเพื่อนมนุษย์ เป็นหลักแก่นและแรงส่งแห่งการเคารพในเพศสภาพ ชาติพันธุ์ ผิวสี ฐานะทางเศรษฐกิจ ความศรัทธาความเชื่อและความรับผิดชอบที่แตกต่างกันในหน้าที่การงาน ฯลฯ
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com