บทที่ 9 แบ่งปัน
ขณะชีวิตกําลังดำเนินไปด้วยดี หน้าที่การงานฉันเจริญก้าวหน้าตามลำดับ ลูกชายทั้งสองกําลังสนุกกับการเรียน วันหนึ่งสามีได้รับคำสั่งให้เดินทางไปรับตำแหน่งที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี
ปิดเล่ม ทางอีศาน 127
สรุปน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่งและท่วมขัง ระหว่างวันที่ ๒๘ กันยายน - ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ เกิดขึ้นในพื้นที่ ๕๙ จังหวัด ๓๒๘ อำเภอ ๑,๕๘๖ ตำบล ๙,๗๗๘ หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ ๔๔๓,๕๑๐ ครัวเรือน
[ข้อมูลจากข่าว ๓ มิติ]
“หนังสือ” ไม่มีวันตาย
สำหรับประเทศไทย ถือกันว่า “หมอบรัดเลย์” มิชชันนารีชาวอเมริกัน เป็นผู้นำแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์อักษรไทยมาใช้ในประเทศไทยเป็นคนแรกเมื่อ พ.ศ.๒๓๗๘
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 127
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๗ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สหภพ ปานทอง ๐ ทวี รัชนีกร : ปรากฏการณ์แห่งอุดมการณ์สู่งานศิลปะฯ รายงานของ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ‘บท’ ไขปริศนา ‘กำเนิดจามเทวี’ ไขโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ‘แบ่งปัน’ และ ‘จากลา’ บันทึกชีวิตใหม่ ปาริชาติ รักตะบุตร ๐ สมปอง ดวงไสว เล่าเรื่อง ‘อีสานบ้านฉัน’ หนึ่งบันทึกจากปลายพู่กัน อนุวัฒน์ จักรทุม ๐ “เจน อักษราพิจารณ์” รำลึก มลฤดี พรหมจักร : ตำนานลำภูไท “สาวนักเรียนตำตอ” ๐ เรื่องสั้นของ สมพงษ์ สุริโย ~ ๓๙ ปีที่น้ำตาแม่ร่วงหล่นบนลานกกแก