คนอีสานค้นหากันให้พ้อ
ถ้าเปรียบเทียบขีดความเจริญก้าวหน้ากับบ้านใกล้เรือนเคียงส่วนมาก เมืองไทยเรายํ่าเท้าอยู่กับที่มานานหลายสิบปีดีดักแล้ว ถึงเวลาต้องปรับปรุงแก้ไขพร้อมกันไปกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างทางกายภาพ เช่น การคมนาคม อาคารบ้านเรือน สถานที่ทำการ และภูมิทัศน์ต่าง ๆ
เส้นทางขันหมาก : ลำปลายมาศ และ บ้านกงรถ [๙]
จากตอนที่แล้ว กล่าวถึง เส้นทางของการเดินทางตามเนื้อเรื่องนิทานประจำถิ่นปาจิตอรพิม ที่ผู้เขียนได้จัดหมวดหมู่ไว้ ๕ เส้นทางด้วยกัน คือ เส้นทางตามหานางอรพิม เส้นทางขันหมาก เส้นทางหนี เส้นทางตามหาปาจิต และเส้นทางกลับบ้าน ซึ่งในแต่ละเส้นทางนั้นมีสถานที่ต่าง ๆ ที่น่าสนใจ
ที่ บ้ า น ก็ มี
บักน้อยจอมกะล่อน มันว่างงานอยู่บ้านกับพ่อเฒ่านมสองต่อสอง
“พ่อเฒ่า...ช่วงนี้รถข้อยว่าง บ่ค่อยมีงานไปหากินเหล้า เว้าหยอกสาวน้อยกับข้อยบ่?” บักน้อยเอ่ย
“ไปกินอยู่ไสล่ะ” เข้าทางพ่อเฒ่านมอีกแล้ว
“ร้านหลบเมีย! ร้านนี้ลับตาคนดีมาก ผมเคยไปมาแล้ว มีสาวน้อยจากประเทศเพื่อนบ้านบางคนอ๊อฟได้เด้อ สิบอกให้...เฮามาพากันหลอยไป ดีไหม?”
พุทธศาสนาเข้าสู่อีสาน…ในตำนานอุรังคธาตุ
ในดินแดนอีสานปัจจุบัน มีการนับถือศาสนาที่หลากหลาย เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมจากต่างถิ่น เพราะศาสนาเหล่านั้นล้วนมีต้นกำเนิดจากแดนไกล ที่ไหลบ่าเข้ามาแทนที่และซ้อนทับศาสนาผีดั้งเดิมที่มีอยู่ในแผ่นดินอีสาน ศาสนาที่ปักหลักมั่นและแพร่ขยายอย่างกว้างขวางคือ “พุทธศาสนา” จึงเป็นที่น่าสนใจว่า ตั้งแต่ยุคต้นพุทธกาลจนถึงหลังจากพุทธปรินิพพานเมื่อกว่า ๒,๕๐๐ ปีก่อน ดินแดนอีสานและลุ่มแม่นํ้าโขงได้มีการซึมซับรับเอาพุทธศาสนาเข้ามาอย่างไร?
ผีตาโขน ผีตาขน ผีตามคน ผีตามใคร?
ถึงแม้ขบวนแห่ผีตาโขนจะเป็นแม่เหล็กดึงดูดคนจากทั่วสารทิศ ให้ไปเยือนอำเภอเล็ก ๆ ในหุบเขาอย่างด่านซ้าย จังหวัดเลย แต่สาระสำคัญที่แท้จริงของ “งานประเพณีบุญหลวงและการละเล่นผีตาโขน”