กินสาหร่าย กินพลังงาน
เคยกินสาหร่ายไหมครับ ทําไมจะไม่เคยใส่ในแกงจืดไง ยำสาหร่ายแบบญี่ปุ่นก็อร่อยดีนะ ส่วนข้าวห่อสาหร่ายนั้นก็ไม่ใช่ของแปลกสำหรับคนไทยใน พ.ศ.นี้แล้ว อ้อ เห็นเขาว่าน้ำซุปแบบญี่ปุ่นก็ปรุงจากปลาแห้งกับสาหร่ายที่ชื่อ “คอมบุ”
สายธารวรรณศิลป์
๑. ไหลบ่าอารมณ์ที่บ่มเพาะ
ลัดเลาะเกาะแก่งแอ่งหินผา
เลี้ยวลดคดโค้งโยงสายมา
สุดหล้าฟ้าไกลไม่สิ้นมนต์
๒. เรียงร้อยสร้อยรักอักขระ
เพื่อจะปลอบปลุกทุกแห่งหน
กล่อมเกลาฤดีที่ทุกข์ทน
หลุดพ้นนิยามความหลอกลวง
คำผญา (๑๕) : “ไผมีความฮู้หาเงินก็ได้ง่าย ไผฉลาดฮู้เงินล้านก็แก่นถง”
“ไผมีความฮู้หาเงินก็ได้ง่าย ไผฉลาดฮู้เงินล้านก็แก่นถง” ใครมีความรู้ก็หาเงินได้ง่าย ใครฉลาดรู้เงินล้านก็แน่นกระเป๋า
มาเยอ ปู่เยอ ย่าเยอ
“เยอ (วิเศษณ์) เป็นคำกริยาช่วย เชิญชวนให้มากินด้วยกัน อย่างว่า มาเยอหล้ามากินต้มไก่หัวสิงไคใส่พร้อมหมากนาวน้อยใส่นำ จํ้าแล้วจํ้าจํ้านํ่าบ่มีถอย อย่าหวังอย่าคอยว่าอี่นางชิมีชู (คำกลอน)”
ความเปลี่ยนแปลง
เว้าแล้วต้องเฮ็ด เฮ็ดให้สุด
ขุดให้ถึง ผิดถืกค่อยว่ากัน
สิ่งใด๋ดียกยอขึ้น สิ่งใด๋บ่ดีแก้ไข
ทั้งเฮ็ดทั้งเฮียนคู่กันไป
ความผิดบ่ไซ้ความซั้ว
ความซั่วคือบ่เปลี่ยนแปลง
บุญคูนลานเดือนยี่ : ทำนาปลูกข้าว บุญก็ได้หัวใจก็ม่วนซื่น
ครูคำมูนว่าคาถาตีข้าว อาคัจฉาหิ อภิชาตสหมมะ ว่า ๗ ครั้ง ตีข้าว ๗ หน จากนั้นเริ่มต้นคนแรก ใช้เครื่องมือจับมัดฟ่อนข้าวแล้วยกให้สูงเหนือหัว แล้วฟาดลงไปที่ลานข้าว ข้าวร่วงออกจากรวง ตีข้าวอยู่สองสามหนจนข้าวร่วงหมดจากมัดฟ่อนข้าวแล้ว คราวนี้ก็เป็นการโยนมัดฟ่อนข้าวไปเก็บกองไว้อีกที่ แล้วการละเล่นสนุกสนานก็เกิดขึ้น
สำบายดี ปี เมิงเฮ้า
“ปักขทึน (ปัก-ขะ-ทึน)” เป็นคำเก่าในวรรณกรรมอีสานโบราณ ตรงกับคำภาษาบาลี ว่าปักขทิน ตรงกับภาษาสันสกฤตว่า ปฺรติทิน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Calendar ปัจจุบันใช้ว่า ปฏิทิน แปลว่า แบบสำหรับดูวันเดือนปี คำว่า ปักขทึน มาจากคำ ๒ คำ
โอ้ นารายณ์ขายาวผู้ลือเลื่อง
ในตำนานอุรังคธาตุ เล่าว่าเมื่อพระมหากัสสปะอัญเชิญพระอุรังคธาตุมา
จากอินเดีย พระยาสุวรรณภิงคารประสงค์จะขอแบ่งพระธาตุมาบ้าง จึงมีกุศโลบายชักชวนราษฎรชายและหญิง สร้างปราสาทแข่งกัน ของ
ใครเสร็จก่อนจะได้เป็นที่ประดิษฐานพระอุรังคธาตุ ฝ่ายชายจึงสร้างปราสาทภูเพ็กขึ้นแข่งกับฝ่ายหญิงที่สร้างปราสาทนารายณ์เจงเวง
ลั บ มี ด
“วันอาทิตย์ อย่าได้เข่นพร้า ตีหอก หลาวแหลน มันสิกลายเป็นผี พากโพย ฟันเจ้า” นั่นก็หมายความว่า ของมีคมทุกประเภท ไม่ควรจัดซื้อจัดหาในวันอาทิตย์ เพราะจะเกิดภัยแก่ผู้ใช้เอง ...
นาคสิบห้าตระกูล ผู้รักษาหลวงพระบาง
พญานาคที่คุ้มครองหลวงพระบางนั้นมีสิบห้าตระกูล ที่คุ้มครองเวียงจันบางตำนานว่ามีเจ็ดตระกูล คำว่า “นาค” นั้นเป็นศัพท์ยืมมาจากอินเดีย จึงอาจมีคำถามได้ว่า แล้วก่อนที่นาคอินเดียจะมาถึงสุวรรณภูมินี้ ใครเล่าคุ้มครองหลวงพระบาง
คืนสู่รากเหง้า เวลา ที่ ผี ขวัญ
การคืนสู่รากเหง้า คือกระบวนการเรียนรู้ กลับไปสู่อีกมิติหนึ่งของเวลา ของวัฒนธรรม ก้าวข้ามทุกอย่างเพื่อเข้าถึงคุณค่าและเนื้อหาที่ดีงามของชีวิต เป็นการ “เชื่อมอดีตกับปัจจุบันเพื่อสานอนาคต”