บทกวี น ก เ ส รี สี รุ้ ง
นกเสรีสีรุ้ง
บินลัดทุ่งโศกธารสู่พลาญฝัน
ชื่นริ้วทองศรัทธาจากตาวัน
ขณะดอกไม้ปันหวานละออง
เสียงพิณเสียงแคน
เสียงพิณเสียงแคนเป็นดังชีวิตจิตวิญญาณของอารยชนลุ่มแม่น้ำโขง แม้พลัดพรากไปอยู่แห่งหนตำบลไหน ครั้นได้ฟังได้ยินจะถวิลหารากเหง้าเหล่าตน เหมือนคนที่ฝังสายรกสายแฮ่ไว้หมู่บ้าน แม้ดิ้นรนทำมาหากินอยู่ถิ่นไหนบั้นปลายชีวิตหากเลือกได้ก็ปรารถนากลับมาตายที่บ้านเกิด
ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 10
เมื่อคราวที่จารย์บุญและจารย์แก้วกับอีแพงเมียข่า พร้อมครอบครัวชาวข่าจำนวนหนึ่งลงมาจากยอดภู พวกเขาก็เดินทางเข้าตั้งบ้านเรือนอยู่ ณ ดินแดนห้วยขุหลุ อันเป็นบ้านเกิดเมืองนอนแต่เดิมมาของจารย์บุญ ฝ่ายเฒ่าแก่และหมู่ญาติก็พากันทำพิธีบายศรีสู่ขวัญ
Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี
In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.
ข้าวหรือขนม
ขนมของคนไทยโบราณ ที่เชื่อว่ามีความเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย และสืบทอดต่อมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา และกรุงรัตนโกสินทร์
เป็นขนมที่มีเรียกกันให้เป็นปริศนาชวนสงสัย ขนมที่ว่านี้ก็คือ
ขนมไข่กบ ขนมนกปล่อย ขนมนางลอย และขนมไอ้ตื้อ
ขนมที่ว่านี้ มีชื่อเรียกกันสั้น...สั้นว่า “ขนมสี่ถ้วย” คือจะต้องเป็นของคู่กันตามงานบุญ งานกุศล งานมงคล
ลูกอีสาน ทำงานเติมน้ำมันเครื่องบินที่อลาสก้า
ฝรั่งตาน้ำข้าวเพื่อนที่ทำงานที่สนามบินด้วยกันถามว่า “ยูอยู่บ้านยูเมืองร้อน ๆ มาอยู่เมืองหนาวอย่างอลาสก้าได้อย่างไร”
ผมหัวเราะให้เขาทั้งที่ยังหนาวสั่นมือเย็นเฉียบ “คุณอยู่ได้ฉันก็อยู่ได้แหละ ไม่มีปัญหา”
หนุ่มอีสานแห่งเมืองอุบลราชธานี บอกว่าอยู่อีสานบ้านของเรา เคยมีกิน เคยอด ทั้งร้อนทั้งหนาว เราผ่านชีวิตต่ำสุดตรงนั้นมาแล้ว มาถึงวันนี้อยู่ที่ไหนก็อยู่ได้ธรรมดามาก ๆ
งานนักร้อง เพลงรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน
ในฐานะที่ผู้เขียนตอนนั้น นอกจากจะเป็นนักแต่งเพลงแล้วยังเป็นนักข่าวบันเทิงสัมผัสชีวิตของดารา นักร้อง ศิลปินคนดังพอสมควร จึงแวบไอเดียจะแต่งเพลงเพื่อเป็นตัวแทนให้ศิลปินที่ต้องทำหน้าที่เป็นคนของประชาชน ให้ความสุขความบันเทิงแก่แฟน ๆ อาจมีบ้างที่แฟนเพลงบางคนเข้ามาชื่นชมคลุกคลีมีจุดประสงค์แตกต่างกันไป ศิลปินนักร้องต้องขายเสียงหาเลี้ยงชีพได้รับการชื่นชมอุดหนุนจากบรรดาแฟน ๆ บางครั้งในสายตาของคนภายนอกอาจมองในแง่ไม่ดี
กลัวผอม
บักสอนมันเกิดรักชอบพอกับสาวกองลูกสาวพ่อเฒ่าหยองกับแม่เฒ่าตุ้ย แม้ว่าสาวกองจะอ้วนไปหน่อย บักสอนก็ไม่รังเกียจ มันกลับคิดว่า “หุ่นแบบนี้แหละ มันเต็มไม้เต็มมือดี” มันถือว่าจิตใจสำคัญกว่าหุ่น แม้หุ่นจะเข้าประเภท “อ้วนสั้น สันหนา” ก็ไม่ถือสา ข้าจะรักของข้าใครจะทำไม?
“นพดล ดวงพร” หัวหน้าวงดนตรี เพชรพิณทอง ครูใหญ่คำเม้า แห่งบ้านหนองหมาว้อ
๔ ผู้สร้าง ทางดนตรี แบบมีศิลป์
ทั้งเสียงพิณ เสียงแคน แสนสุขสันต์
วงดนตรี เพชรพิณทอง คลองในพลัน
สร้างศิลปิน ลือลั่น ทั่วแดนไทย
ครูนพดล ดวงพร กระฉ่อนชื่อ
เป็นผู้ถือ วัฒนธรรม นำสมัย
วงดนตรี พูดอีสาน กังวานไกล
๔ เสาหลัก นี้ไซร้ ให้จดจำ
พุกาม : มรดกโลกใหม่ของพม่า
มิถุนายน 2562 ในที่สุดองค์การยูเนสโกก็ประกาศขึ้นทะเบียน พุกาม เป็นเมืองมรดกโลกแห่งใหม่ล่าสุดของพม่า เมืองที่เซอร์ เจมส์ สก็อต ประพันธกรชาวอังกฤษ ถึงกับพรรณนาไว้ในหนังสือ “The Burma, His Life and Notions” ตั้งแต่ พ.ศ.2425 หรือเมื่อกว่าร้อยปีมาแล้วว่า...
“…ในบรรดาเมืองที่เกี่ยวข้องกับศาสนาในโลก ไม่ว่าจะเป็นเยรูซาเร็ม โรม เคียฟ พาราณสีไม่มีเมืองใดที่มีวัดวาอารามอยู่มากมายเป็นที่เชิดหน้าชูตาของเมืองเท่าพุกาม…
กำเนิดสัตว์ทดลอง
ในห้วงทะเลน้ำนมของฝูงอสุจิ
ก่อนปฏิสนธิมาเป็นสัตว์ทดลองของพระเจ้า
ซาตานได้พุ่งชนักโลภจริต
ติดหลังมาทุกตัวตน
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 88
นิตยสาร “ทางอีศาน” ก้าวเข้าสู่ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๘๘ ประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๖๒ “นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค” ภาพปก ทางไปนาแห้ว จ.เลย โดย สหภพ ปานทอง เรื่องเด่นในฉบับ •คารวาลัย “นพ...Read More
ศาสตร์และศิลป์กับคนอีสาน
ภาคอีสานเป็นสังคมปิดมานาน ไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับต่างชาติ ต่างวัฒนธรรมมากเหมือนคนใต้ ที่ทะเลเปิดทั้งซ้ายขวา ไม่ว่าแขกจีน อาหรับ ฝรั่งก็มาเทียบท่า ย้ายถิ่นเข้ามาอาศัยปะปนมาหลายร้อยปี ทำให้คนใต้คุ้นเคยกับคนแปลกหน้า และกลายเป็นความไม่ไว้ใจไปด้วยภาพโดย สุชีลา เพชรแก้ว เพราะมีประสบการณ์ที่ไม่ดีกับคนแปลกหน้าจำนวนไม่น้อยที่ไม่ได้มาดี คนใต้รู้จักเงินตราและค้าขายกับคนต่างถิ่นก่อนคนไทยภาคอื่น ๆ
เสียงพิณเสียงแคน
เสียงพิณเสียงแคนเป็นดังชีวิตจิตวิญญาณของอารยชนลุ่มแม่น้ำโขง แม้พลัดพรากไปอยู่แห่งหนตำบลไหน ครั้นได้ฟังได้ยินจะถวิลหารากเหง้าเหล่าตน เหมือนคนที่ฝังสายรกสายแฮ่ไว้หมู่บ้าน แม้ดิ้นรนทำมาหากินอยู่ถิ่นไหนบั้นปลายชีวิตหากเลือกได้ก็ปรารถนากลับมาตายที่บ้านเกิด