วรรณกรรมสร้างอารยธรรมเปลี่ยนโลก (๑)
การถ่ายทอดสืบทอดเรื่องราวในอดีตมีทั้งด้วยการบอกเล่า หรือมุขปาฐะ มีทั้งผ่านวัตถุสิ่งของ เครื่องมือทำมาหากิน หัตถกรรม ปัจจัยสี่ ภาพเขียน จิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปกรรม
เมืองเพีย ชุมชนโบราณในอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
จากข่าวท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่นระบุว่า มีนักโบราณคดีอิสระได้ทำการขุดหลุมเพื่อวางเครื่องมือในการเดินท่อน้ำมันของบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่งตามแถวถนนสายมัญจาคีรี - ขอนแก่น บริเวณบ้านเมืองเพีย
ตุนอาหาร
พ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ มีลูกเขยชื่อ จักษ์ เป็นคนชอบเล่นไพ่ในระดับต้น ๆ บางครั้งก็ได้ บางครั้งดวงซวยก็เสีย แต่ส่วนใหญ่ก็จะหนักไปทางเสียซะมากกว่า จนพ่อเฒ่าเกรียงศักดิ์ ต้องเตือนแล้วเตือนอีก เนื่องจากสงสารลูกสาวกับหลาน ๆ ต้องหารายได้จากทางอื่นมาเสริม ดูแลครอบครัว
อาหรับยิวรบกันสามพันปี (2) ร้อยปีที่รบหนัก
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) อังกฤษได้ขอให้ขบวนการไซโอนิสต์ของยิวช่วยรบเพื่อจัดการกับจักรวรรดิ์ออตโตมาน โดยสัญญาว่าเสร็จสงครามจะหาบ้านเมืองให้อยู่ถาวรในถิ่นที่ของปาเลสไตน์
อาหรับยิวรบกันสามพันปี (1)
เพื่อทำความเข้าใจกับสถานการณ์สู้รบระหว่างปาเลสไตน์กับอิสราแอลวันนี้ คงต้องย้อนไปถึงสามพันกว่าปีที่ความขัดแย้งเริ่มต้น และสู้กันเรื่อยมา ขอแบ่งประวัติศาสตร์ตามเวลาดังนี้
ช่วงที่หนึ่ง สามพันปีที่แล้วจนถึงศตวรรษที่ 1 จาก “อาบราฮัม” ถึง “พระเยซู” ช่วงที่สอง ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 ที่ยิวอพยพย้ายถิ่นไปทั่วโลก ช่วงที่สาม ตั้งแต่เริ่มก่อเกิดรัฐอิสราแอลเมื่อร้อยปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน
Keynote Address โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา (ภาษาอังกฤษ และ ภาษาไทย)
Keynote Address โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา (ภาษาอังกฤษ และ ภาษาไทย)
พบกันออนไลน์ วันศุกร์ที่ 21 พค. 21
เวลา 9:00-11:00 น. (เวลากรุงเทพฯ)
เจ้าภาพผู้จัด KTAC'7 ปี 2021 : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Application: Google Meet; WebEx
ท่านที่สนใจ แต่มิได้ลงทะเบียนหรือแจ้งความจำนงไว้ล่วงหน้า กรุณาส่งอีเมล์ของท่านมาที่
Facebook Messenger :
Cholthira Satyawadhna