อีสาน ในประวัติศาสตร์และวรรณกรรม
อีสาน ภูมิภาคที่มีภาพลักษณ์ที่ไม่รื่นรมย์ในการรับรู้และทัศนะของผู้คนภายนอกพื้นที่ และถูกตอกยํ้าด้วยวาทกรรมจากงานวรรณกรรม งานเขียนประวัติศาสตร์ แต่ด้วยความกว้างใหญ่ของพื้นที่ ๆ มีเขตติดต่อกับเพื่อนบ้านที่มีระยะทางยาว ทำให้มีทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมหลากหลาย เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ทั้งด้านการพัฒนา การค้า การเมือง
คำโตงโตย
ฮูปแต้มเรื่อง “เจ้าเมืองพะโคยกทัพมาประชิดเมืองพาน” จากนิทานประจำถิ่นเรื่อง อุสาบารส (จ.อุดรธานี, จ.หนองคาย) แสดงเหตุการณ์เมื่อครั้งนางอุสาได้พาท้าวบารสมาซ่อนไว้ที่หอคำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดสตรีนิยมนักคิดสตรีนิยม และสตรีนิยมสายต่าง ๆ
แม้ เพลโต (Plato) นักปรัชญากรีก เคยกล่าวถึงความเท่าเทียมทางสังคมระหว่างผู้หญิงและผู้ชายอันเป็นรากฐานของรัฐที่ดีงามในหนังสือชื่อ อุตมรัฐ (The Republic)
ร่องรอย “ผู้หญิงเป็นใหญ่” ในตำนานไท-ลาว
ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่สัมพันธ์กับไทคดีศึกษา นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา โบราณคดี ภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ฯลฯ จำนวนหนึ่งเชื่อว่าสังคมไท-ลาว (คนที่พูดภาษาตระกูลไท-ลาว) ในสมัยโบราณเมื่อครั้งยังนับถือผี (เทพ/แถน/พระเจ้า-ในภาษาอังกฤษใช้คำเดียวกันคือ Animism) ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เคยเป็นสังคมที่มีแม่เป็นศูนย์กลางหรือแม่เป็นใหญ่
บทพิสูจน์อารยธรรมแห่งยุคสมัย
22 – 2 – 22 ————...Read More
วิจิตร นาเมืองรักษ์ “ผู้หญิง คือ แม่ผู้อ่อนโยนและเข้มแข็ง”
"ผู้หญิงถือเป็นเพศแม่ ถือเป็นผู้ให้กำเนิดชีวิตและรักษาชีวิต มีความงดงาม
อ่อนโยน และเสียสละเข้มแข็งอยู่ในตัว..."