นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 125

นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๕ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สมเกียรติ เสียงวังเวง เรื่องเด่นในฉบับ ๐ โส้ (โทรฺ) ในแอ่งสกลนคร ~ สถิตย์ ภาคมฤค ๐ เกษตร ๑๒ เดือน : ชูรสชูค่าทะเลเกลือใต้พื้นพิภพ ~ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ศิลปินถิ่นอีศานใต้ - ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ~ “เจน อักษราพิจารณ์” ๐ มินธาดา ปักษาพันธ์ มือปูนปั้นยอดเยี่ยมเยาวชน ~ สมปอง ดวงไสว ๐ เรื่องสั้น หญิงสาวบนสะพานไม้ ~ วงเดือน ทองเจียว ๐ ผีปอบหรือผู้ป่วย ~ เฮฮาสาระกับ สหภพ ปานทอง ๐ พบกวี ; ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “บุญมา ภูเม็ง”, “แม่น้ำ เรลลี่”, มาลินี อเนกา, วรรณา วงค์ฉายา, นิตา มาศิริ

ปิดเล่ม ทางอีศาน 124

กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการเลือกตั้งผู้ว่าทุก ๔ ปี การเลือกตั้งครั้งล่าสุดก่อนรัฐประหารของ คสช. มีขึ้นเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๖ ผ่านมาถึง ๙ ปีจึงมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา

“มานุษยวิทยาพันธุศาสตร์” สืบรากเหง้าผู้คนในอุษาคเนย์ผ่านดีเอ็นเอมนุษย์โบราณ

ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ เป็นต้นมา ไม่เพียงแต่ช่วยให้มนุษย์รู้จักธรรมชาติจนสามารถเอาชนะธรรมชาติ นำไปสู่การพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของมนุษย์ ทว่าในอีกทางหนึ่งได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการสืบค้น เสาะแสวงหา ตลอดจนรวบรวมความรู้เกี่ยวกับมนุษย์ และสังคมที่มนุษย์อาศัยอยู่

ขอป่าวประกาศว่าจะมาตามนัดนะคะ – “เต้าตามไต เต้าทางไท” (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)

เริ่มจากวันที่ 1 กันยายน 2565 เป็นต้นไป จะมีนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ 'ทาง' ด้านต่าง ๆ บางท่าน ที่ได้กรุณาเขียนงาน ซึ่งเป็นการต่อยอด ขยายความรู้ ให้กับงานชุด มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ที่กำลังจัดพิมพ์รวมเล่มค่อนข้างหนา ในชื่อว่า "เต้าตามไต เต้าทางไท" (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)

# หนังสือที่คิดว่าสาบสูญแล้ว “จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย”

"จงเป็นอาทิตย์เมื่ออุทัย" หนังสือเพื่อต้อนรับเพื่อนใหม่พร้อมกัน 10 สถาบัน พิมพ์เมื่อ พ.ศ.2519 พิมพ์เผยแพร่เสร็จไม่นานรัฐบาลเผด็จการสมัยนั้นได้ทำการล้อมปราบใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วบุกเข้าเข่นฆ่านักศึกษาอย่างหฤโหด
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com