ผิดที่ผิดทาง ผิดจังหวะ การนำเสนอที่ขาดทักษะ

การทำอะไรผิดที่ผิดทาง ตามคำโบราณว่า “ผิดฝั่งผิดฝา” โดยขาดการไตร่ตรอง หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจเกิดผลเสียมากกว่าผลดี จะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม คนโบราณจึงเตือนให้เอาใจเขามาใส่ใจเรา คือให้ประเมินความรู้สึกของคนอื่นด้วย หรือจะพูดให้เป็นวิชาการหน่อยก็คือ “การนำเสนอที่มีทักษะ” จึงน่าจะนำมาเป็นแง่คิดในข้อเขียนฉบับนี้ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ตระกูลภาษา “ไท-กะได” กับ ไป่เยวี่ย (๓)

จากการศึกษาวิจัย “ตัวอักษร” บนกระดูกทำนาย (เจี๋ยกู่เหวิน 甲骨文 ) ทำให้ทราบว่า  ในยุคราชวงศ์ซาง 商 ซึ่งระบบตัวอักษรภาษาจีนเริ่มจะพัฒนาเจริญสุกงอมแล้ว ชื่อ “เยวี่ย” เป็นชื่อของกลุ่มชนที่มีความแตกต่างจากคนของราชวงศ์ซาง แต่นั่นก็มิใช่เรื่องที่จะนำมาอ้างอิงอธิบายได้ว่า กลุ่มคนเยวี่ยเพิ่งจะมีกำเนิดเกิดขึ้นในยุคนั้น (สามพันปีมาแล้ว) เพราะกลุ่มคนที่ถูกเรียกว่า “เยวี่ย” นั้น  ควรจะมีอยู่นานแล้ว  ก่อนที่จะเกิดตัวอักษรขึ้น  มิใช่ว่าผู้คนกับตัวอักษรคำว่า “เยวี่ย” จะกำเนิดขึ้นพร้อมกัน

(๑๒) “เชิญลงเยอ เชิญเจ้าลงเยอ… เชิญนางแต่งฮูปี่ฮูแคน ลูกสะแนนให้ดังถูกต้อง”

ในบทนี้ จะชี้ให้เห็นว่า บรรพสตรีไท-ลาว แต่ดั้งเดิมมีความสำคัญเพียงใดในศิลปะดนตรี อาทิเช่น การเป็น “ครูช่างแคน” และการเป็นผู้นำในนาฏพิธีต่าง ๆ เช่น “หมอลำผีฟ้า” ความพยายามนี้มิได้ประสงค์จะโน้มนำไปสู่แนวทัศนะแบบ Liberal Feminism
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com