คำโตงโตย
“มี่หลุกเม้าเน้ซ้อน ลักล้อนจ่างแผดปิ่น
มีโว่ค่ายก้อเม้าจ่างเหล่ง ก๊าตั๊กสิงฮ้ายหน่าย
มีเม่เม้าจ่างหักก็ ก๊าตีกผักย้านกั่น”
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : แผนการจาริก (๑)
หากโลกนี้มีเวทมนตร์สิ่งนั้นเห็นจะเป็น “แม่น้ำโขง” ที่เบื้องหน้าของฉันนี่เอง ก็จะไม่ให้เรียกว่าเวทมนตร์ได้อย่างไร ลองนึกถึงความมหัศจรรย์ของมันดูสิ จากเกล็ดหิมะเล็ก ๆ บนดินแดนหลังคาโลก เมื่อโดนความร้อนจากแสงตะวันจึงค่อย ๆ เปลี่ยนสถานะเป็นหยดน้ำเล็ก ๆ ที่รวมกันจนเป็นลำธาร
(๗) แถน ในวัฒนธรรมสายไทหลวง (ไทใหญ่, ไทมาว, ไทอาหม ฯลฯ)
ข้าพเจ้าขอเรียก ชาวไตในภาคตะวันตกของยูนนาน ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (ปัจจุบัน) ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียปัจจุบันว่าชาวไตสาย “ไตหลวง” หรือ “ไตสายตะวันตก” เนื่องจากมีตำนานกำเนิดและรากเหง้าวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันมาก
(๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”
เราได้เคยถกแถลงกันเรื่องความหลากเลื่อนของภาษาตามแนวคิดของแดริด้า-นักคิดแนวรื้อสร้างผู้เรืองนามชาวฝรั่งเศสมาบ้างแล้ว โดยเริ่มจากคำว่า “ด้ำ” ซึ่งเป็นคำไทดั้งเดิม ต่อมาได้กลายเสียงเป็น “ด้าม” จากชื่อโคตรวงศ์ “หมื่นด้ำพร้าคต” เพี้ยนไปเป็น “หมื่นด้ามพร้าคด”
ปาก๊ก 巴国 (จบ)
ต่อมาในยุคชุนชิว แคว้นฉู่เริ่มมีกำลังเข้มแข็งขึ้น ผลักดันให้เขตแดนของ ปาก๊ก ต้องเลื่อนถอยไปทางทิศะวันตกเรื่อย ๆ หนังสือ “ฮัวหยางกั๋วจื้อ” บรรพ “ปาก๊ก” 。《华阳国志•巴志》 บันทึกว่า “ปา กับ ฉู่ ทำสงครามกันหลายครั้ง”
จดหมาย
นำประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง “เมืองเพียเมืองโบราณ” ลงเผยแพร่ในนิตยสาร “ทางอีศาน”