นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๒๔
ปีที่ ๒ ประจำเดือนเมษายน ๒๕๕๗
ฉบับ “ครบรอบ ๒ ปี”
เรื่องเด่น
– ดอกจาน “เล็บแดงแห่งกามเทพ” – “มิ่งไม้มหามงคล”
– รู้จัก – อุดม ศรีนนท์ “เด็กตีนเปล่าบ้านป่าอาจารย์ด็อกเตอร์”
– ปลาบึกหายไปไหน
– ทักษิณคดี ล้านนาคดี
◙ เนื้อหาภายในเล่ม
๓ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
๗ บทบรรณาธิการ
ฤดูแห่งสีสันและชีวิต
๘ จดหมาย | สุริยันต์ จันทราทิตย์, ประสาสน์ รัตนะปัญญา, “Sang Puriso”
๑๑ กวีเสกศิลป์แม่นํ้าร้อยสาย | ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ทนง โคตรชมภู
๑๔ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน
๒๐ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน”
ยุคเปลี่ยนผ่านของ “สถาบันสังคม”
๒๒ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค”
เรือ
๒๕ เรื่องจากปก | กอง บ.ก.
ดอกจาน [Palasha] ‘เล็บแดงแห่งกามเทพ’… มิ่งไม้มหามงคล
๓๒ ล้านนาคดี | “อินทร์ ลงเหลา”
ผีบ้าตาวอด : ผีน่ากลัวในฤดูดอกทองกวาวบาน
๓๔ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท
ทองกวาว/จาน ในมิติทางการแพทย์
๓๗ บทกวี | ไพวรินทร์ ขาวงาม
ไม่น้อยหรอก
๓๘ สารคดีรางวัล โครงการสื่อศิลป์ฯ | เกรียงไกร เชียงของ
ปลาบึก ปลาลึกลับแห่งลุ่มนํ้าโขงที่เชียงของหายไปไหน ?
๔๘ สัมภาษณ์ | “ชาย เชียงยืน”
ดร.อุดม ศรีนนท์ จากเด็กบ้านป่า สู่ร่มกาสาวพัตร์ ถึงด็อกเตอร์เมืองนอก
๕๔ เวทีทางอีศาน | โสมชยา ธนังกุล
ข้าฯขอตายในเมืองที่มี “อนุสาวรีย์แห่งความดี”
๕๗ บทกวี | “เดือนดวงเดิม”
ประเทศไทยเป็นหนึ่งเดียวจะแบ่งแยกมิได้
๕๘ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
ฝันเดือนมีนา
๕๙ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย”
ฉํ่าเย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์สร้างสรรค์
๖๒ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์
จิตแพทย์ในชาติพันธุ์อีศาน
๖๗ เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง
จักเดินไปสู่หนใด
๗๔ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู”
จีกแดก-อัดแดก-โสนก
๗๗ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๗๘ บ้านเขาเมืองเรา | สนั่น ชูสกุล
การใช้ต้นทุนทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของฟิลิปปินส์
๘๖ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๙๐ ในเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง
พุทธธรรมกับเทวรูป ๔
๙๒ บทความพิเศษ | ศุภกิจ นิมมานนรเทพ
ฟื้นศักยภาพข้าวไทยอย่างไรจึงจะคืนกลับอันดับหนึ่งผู้ส่งออกข้าวโลกได้ ?
๙๖ หมออีศาน | ศ.นพ. อมร เปรมกมล
แนวทางการดูแลโรคไตวายเรื้อรังด้วยการแพทย์แผนไทย
๑๐๐ ทักษิณคดี | “จามปากะวี”
วัฒนธรรมจาม รากเหง้าสายสัมพันธ์อันเลือนราง
๑๐๔ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง
พระไสยาสน์ที่เก่าที่สุดในอีสาน
๑๐๖ รากเมือง | กาย อินทรโสภา
เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๗)
๑๑๐ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ
สงกรานต์ในยุคทุนนิยมครองเมือง
๑๑๓ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร)
๑๑๗ โลกนิติคำกาพย์ภาษาลาว | กอง บ.ก.
บทร้อยกรองของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจฺนโท จันทร์) พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๗๕
๑๑๘ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์”
โอ้แม่ดอกจาน ยามเจ้าเบ่งบานแดง…จ่ายหว่าย
๑๒๒ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา
มนต์รักแม่นํ้ามูล
๑๒๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์
พ่อค้าเกลือ
๑๓๐ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
กาบแก้วบัวบาน (ตอน ๒๔)
๑๓๘ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ และ จารุณี ศรีหริ่ง
มาทิเซ่น ณ ตู้แช่แข็งใบใหญ่ที่สุดใบเดิม
๑๔๒ รายงานพิเศษ | “จิตตธรรม”
ท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา กับ การเสวนารอยธรรม “จิตตธรรม”
๑๔๖ เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | “ปกรณ์ ปกีรณัม”
จดหมายเปิดผนึก
๑๔๘ เที่ยวทั่วทีป | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม
ปายสันโดษ
๑๕๐ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล
โขงนทีสีทันดร ตอน ๓ รอยอดีตที่เวียงผาคราง
๑๕๔ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์”
ความงามของดอกไม้ที่ศิลปินไม่ปฏิเสธ
๑๕๘ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์
เพลิง วัตสาร
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.
พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย