ขอป่าวประกาศว่าจะมาตามนัดนะคะ – “เต้าตามไต เต้าทางไท” (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)
เริ่มจากวันที่ 1 กันยายน 2565 เป็นต้นไป จะมีนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ 'ทาง' ด้านต่าง ๆ บางท่าน ที่ได้กรุณาเขียนงาน ซึ่งเป็นการต่อยอด ขยายความรู้ ให้กับงานชุด มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง ที่กำลังจัดพิมพ์รวมเล่มค่อนข้างหนา ในชื่อว่า "เต้าตามไต เต้าทางไท" (ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2565)
วรรณกรรมคนคุก วรรณกรรมวิจารณ์ แนวสัญญะ|สังคม~สัจจนิยม (Semiotic Social Realism) #จิตรภูมิศักดิ์
บทสรุปการวิจารณ์ ต้นกำเนิด 'ดวงใจ ในแดนฟ้า' ถือว่าเป็นเรื่องเล่าปรัมปรา (Myth) มีลักษณะตรงตามนิยามความหมายของคำว่า 'Myth' คือ "เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น
กำเนิดแคน
“แคน” เป็นชื่อเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ใช้เป่าเป็นเพลง ทำด้วยไม้ชนิดหนึ่งเรียกว่า ‘ไม้กู่แคน’ จัดเป็นตระกูลไม้ไผ่ เข้าใจว่าเป็นไม้ชนิดเดียวกับที่ทางภาคกลางเรียกว่า ‘ไม้ซาง’ (สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๗) ต้นเหตุที่จะเกิดมีแคนขึ้นนั้น มีเรื่องเล่าเป็นปรัมปราคติว่า ‘หญิงม่าย’ นางหนึ่งเป็นคนแรกที่ประดิษฐ์คิดค้นทำแคนขึ้น
Keynote Address โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา (ภาษาอังกฤษ และ ภาษาไทย)
Keynote Address โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา (ภาษาอังกฤษ และ ภาษาไทย)
พบกันออนไลน์ วันศุกร์ที่ 21 พค. 21
เวลา 9:00-11:00 น. (เวลากรุงเทพฯ)
เจ้าภาพผู้จัด KTAC'7 ปี 2021 : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Application: Google Meet; WebEx
ท่านที่สนใจ แต่มิได้ลงทะเบียนหรือแจ้งความจำนงไว้ล่วงหน้า กรุณาส่งอีเมล์ของท่านมาที่
Facebook Messenger :
Cholthira Satyawadhna
รับรู้อารยธรรมลุ่มแม่น้ำโขง สืบสาวอารยชนพงศ์เผ่าไท-ไต
เนื่องจากมีผู้อ่านชาวเวียดนามสนใจโพสต์นี้กันมาก และขอให้เขียนย่อเป็นภาษาอังกฤษ โดยแจ้งว่า อ่านพบชื่อและการอ้างงานเขียนของอาจารย์ชลในหนังสือวิชาการของเวียดนามซึ่งกำลังถกเถียงโต้แย้งกันในเรื่องที่มาของ “ความเป็นเวียด vs ความเป็นไท”
(๑๕) อีแม่นางกวัก บรรพสตรียุคปางด้ำนาย ของชุมชนชาวไท
วิถีชุมชนไทยปัจจุบัน ไม่ว่าจะเดินเหินไปย่านใดก็จะพบ ‘นางกวัก’ กวักมือเรียกทักทายเราให้เข้าไปซื้อหาสินค้าอันเป็นสิ่งต้องประสงค์
การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม
ในบทนี้ จะได้นำเอาเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน และข้อห้าม ต่างเวลาต่างสถานที่กัน มาผูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสังคมที่เจ็บปวดรวดร้าว
(๑๓) “ความเชื่อเรื่องแถน กับ นาฏพิธีหมอลำผีฟ้าพญาแถน”
สภาพสังคมวัฒนธรรมคนไท-ลาวสมัยก่อนนั้นมีการนับถือผีอย่างแนบแน่น จนอาจเรียกว่า ถือ “ศาสนาผี” (ผีแถน หรือ ผีฟ้า) ก็ว่าได้
(๑๒) “เชิญลงเยอ เชิญเจ้าลงเยอ… เชิญนางแต่งฮูปี่ฮูแคน ลูกสะแนนให้ดังถูกต้อง”
ในบทนี้ จะชี้ให้เห็นว่า บรรพสตรีไท-ลาว แต่ดั้งเดิมมีความสำคัญเพียงใดในศิลปะดนตรี
อาทิเช่น การเป็น “ครูช่างแคน” และการเป็นผู้นำในนาฏพิธีต่าง ๆ เช่น “หมอลำผีฟ้า”
ความพยายามนี้มิได้ประสงค์จะโน้มนำไปสู่แนวทัศนะแบบ Liberal Feminism
(๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”
เราได้เคยถกแถลงกันเรื่องความหลากเลื่อนของภาษาตามแนวคิดของแดริด้า-นักคิดแนวรื้อสร้างผู้เรืองนามชาวฝรั่งเศสมาบ้างแล้ว โดยเริ่มจากคำว่า “ด้ำ” ซึ่งเป็นคำไทดั้งเดิม ต่อมาได้กลายเสียงเป็น “ด้าม” จากชื่อโคตรวงศ์ “หมื่นด้ำพร้าคต” เพี้ยนไปเป็น “หมื่นด้ามพร้าคด”
ทางอีศาน 74 : สาวด้ำปางบรรพ์ : ‘ด้ำนาย-ด้ำปู่’ (6)
การศึกษาเรื่องใด ๆ ต้องมี “เครื่องมือ” (Device) และ “วิธีวิทยา” (Approach) ในการวิเคราะห์วิจัยและตีความหมาย ถ้ามีเครื่อง
มือดีและใช้วิธีวิทยาได้สอดคล้องกับสิ่งของ เรื่องราว และบริบทที่จะศึกษา ผลการศึกษาก็จะบรรลุเป้าหมาย