Tag

ทางอีศาน34

ภาษาลาว ภาษาอีสาน

คนอีสาน หรือคนที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานมีมากมายหลายเผ่าพันธุ์ มีกลุ่มที่อยู่ที่นี่นานเป็นพัน ๆ ปี มีที่อพยพมาจากที่อื่นหลายร้อยปี ที่ผ่านมาบางกลุ่มอาจจะไม่สามารถหรือไม่อยากบอกว่าตนเองเป็นคนอีสาน เพราะเชื้อชาติดั้งเดิมนั้นชัดเจน และอาจมาอยู่ไม่นานอย่างคนเชื้อสายจีน เชื้อสายเวียดนาม

ฟันดาบไทย-ลาว การละเล่นใน “สมุทรโฆษคําฉันท์”

มหรสพ (entertainment) หรือการละเล่น (amusement) ของสยามในอดีตส่วนใหญ่สูญหายไม่มีแสดงกันแล้วในสังคมทั่ว ๆ ไป หลักฐานที่จะสืบค้นหาได้คือ พวกเอกสารประวัติศาสตร์, วรรณคดีและภาพจิตรกรรมฝาผนัง เป็นต้น

มะเขือในครัวไทย

โบราณว่าไว้ “ของดี ไม่กินก็เน่า เรื่องเก่า ไม่เล่าก็ลืม” เรื่องราวของมะเขือ พืชผักที่แสนธรรมดาในสายตาหลายคน มะเขือนานาชนิด เคยโดดเด่นอยู่ในถ้วยอาหารไทยทุกภาคถิ่น กลางและใต้ มีแกงเผ็ดใส่มะเขือ ยำเนื้อใส่มะเขือ ทางเหนือมีตำมะเขือส้ามะเขือ อีสานมีซุบมะเขือ มาถึงวันนี้ อาหารไทยสมัยใหม่มีมะเขือน้อยลง ทั้งชนิดและปริมาณ ด้วยเกรงว่าเรื่องของมะเขือในครัวไทยจะถูกลืม เอาละวันนี้เราจะมาคุยกัน…เรื่องมะเขือ

ขุนพลผู้ยาตราทัพ ปักธงชัยหมอลำในกลางกรุงฯ (๑)

คำว่า หมอลำ หมายถึงผู้ที่มีความชำนาญในศิลปะการ “ขับลำ” “ขับร้อง” กลอนลำศิลปะพื้นเมืองของภาคอีสาน เป็นผู้ถ่ายทอดเนื้อหาสำเนียงทำนองกลอนลำไปสู่ผู้ฟัง

คำโตงโตย

การใช้ภาษาของคน “ทางอีศาน” ในสมัยก่อนสิมีคำเว้าคำจาโดยใช้ศัพท์ทางภาษาลาวเป็นส่วนใหญ่ เช่น ภาษาไทย เรียก สำนวน สุภาษิต คำพังเพยคำเสริม ภาษาลาว “ทางอีศาน” ดั้งเดิมสิเอิ้นว่า ยาบโคง โตงโตย
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com