Tag

ทางอีศาน35

ต้นไม้กลิ่นเหม็น

เคยไหมครับ ไปในป่า ในทุ่งนา แล้วได้กลิ่นแปลก ๆ ของต้นไม้ เหม็นบ้าง หอมบ้าง มีทั้งรู้จักและไม่รู้จัก พืชที่คนเรานิยมว่ามีกลิ่นหอม ก็ถูกนำมาปลูกมาเลี้ยง จนกลายเป็นไม้ประดับตามบ้านเรือน ส่วนที่คนบอกว่าเหม็น ก็มักถูกละเลยหรือถึงขั้นตัดฟันทำลายไปก็มี ลองมาดูต้นไม้กลิ่นเหม็นสักห้าอย่างเป็นไร

อู่อารยธรรมอีสาน “อุบลราชธานี” เมืองนักปราชญ์

อุบลราชธานี มีสมญานาม “เมืองนักปราชญ์” (Ubon Ratchathani – Mueang Nakbpraat) มาแต่ครั้งบรรพกาล นามนี้เป็นที่กล่าวขานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ.๒๔๕๓ – ๒๔๖๘) และมีเพียงเมืองอุบลราชธานี เมืองเดียวเท่านั้นในประเทศไทยที่ได้รับสมญานามนี้ซึ่งจะเห็นว่าเดิมมีการกล่าวว่า “คนอุบลฯ เป็นปราชญ์” ชี้เฉพาะระดับบุคคลเท่านั้น

อีสานในนิมิต

คนทั่วไปมองว่าอีสานมีอนาคตที่สดใส จะดีขนาดไหน จะโชติช่วงชัชวาลหรือไม่ เพียงใด ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง แต่ถ้าพิจารณาศักยภาพแล้วก็เชื่อว่ามีทางที่จะเจริญพัฒนาแบบ “มีแต่สิดีไปเมือหน้า”

น้ำหมากนาว

“เออ…แพง…โต๋ ฮู้วิธีเฮ็ดหน่อไม้ส้ม โดยบ่ให้หน่อไม้แหล่ (เขียวคลํ้า) ฮึบ่ ?” พ่อเฒ่าพันตั้งกระทู้ถามบักทิดแพง “บ่ฮู้…บ่จั๊ก!” บักทิดแพงตอบห้วน ๆ พ่อเฒ่าพันก็ว่าต่อ… “ถ้าโต๋บ่ฮู้ พ่อสิบอกวิธีเด้อ...มันเป็นภูมิปัญญามาแต่โบ๋ราณ…”

ฮีตเดือนสี่

คำว่า “ผะเหวด” เป็นชื่อของพระโคตมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน แสดงถึงพระจริยวัตรเมื่อครั้งเสวยชาติเป็นพระโพธิสัตว์เวสสันดร มีการจารเป็นหนังสือชาดกเรื่องยาวถึง ๑๓ ผูก มักจัดงานบุญผะเหวด หรือบุญมหาชาติหลังออกพรรษาแล้ว จะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้แล้วแต่สะดวก แต่ส่วนมากนิยมทำกันในเดือนสี่ เพราะเดือนนี้ว่างไม่มีประเพณีใด ปราชญ์อีสานจึงจัดไว้เดือนนี้ซึ่งเป็นฤดูแล้ง ชาวบ้านว่างจากการทำไร่ทำนา
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com