สื่อสิ่งพิมพ์
ผมไม่ใช่คนหัวใหม่ไอที แต่จัดอยู่ในพวกโลโบราณมากกว่า เครื่องเล่นคนรุ่นใหม่ โทรศัพท์มือถือก็ได้แต่โทรออกและรับเข้า สมาร์ทโฟนก็เล่นไม่เป็น แต่พอดูได้
ทำไมปลาจึงเป็นอาหารมนุษย์
มังสังที่พระอินทร์ส่งมานั้น จะนอนขวางสายน้ำไว้ ปลาที่อาศัยเหนือน้ำจะลงมาข้างล่างหรือไหลมาตามสายน้ำก็ไม่ได้ เมื่อมนุษย์ต้องการอาหารเมื่อใดก็จะมีมีดหรือเครื่องมืออื่น ๆ มาชำแหละหรือเฉือนเอาชิ้นเนื้อของมังสังไปเป็นอาหาร เฉพาะเป็นวัน ๆ เท่านั้น
ลานข่วงกวี
พังคีซอมไอ่น้อง ยามค่ำแขวนขอคำถืกธนูคันศร แล่นตำนำต้องวายวางสังกะฮอกน้อย เทียมสารโตตึ่งแบ่งกันปันพูดแล้ว กินได้ทั่วเมือง
(๒๗) ชายข้าวเปลือก หญิงข้าวสาร
“ชายข้าวเปลือก หญิงข้าวสาร”สมัยเด็กได้ยินแล้วก็สงสัยว่าทำไมผู้ชายจึงเป็นข้าวเปลือก แล้วทำไมผู้หญิงจะต้องเป็นข้าวสาร
“ความล่องคง” ประวัติศาสตร์ขับขานของชนชาติไท (๔)
การสืบสร้าง “มหากาพย์ชนชาติไท” ในงานเขียนชุดนี้ จะใช้ผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่าง ๆ ที่รังสรรค์โดยชนชาวไทเป็นตัวตั้ง
จดหมาย
นิตยสารทางอีศานได้มอบความรักและเมตตาต่อผมและคณะ ในการจัดพิมพ์ “บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่” ผมรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างมาก จนไม่อาจที่จะสรรหาคำพูดใดมาพรรณนาได้
“การจัดการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง : ข้อเสนอสู่พรรคการเมืองในการจัดทำนโยบาย”
ตัวแทน “นิตยสารทางอีศาน” เข้าร่วมงานพบปะประจำปี ของ สถาบันนโยบายศึกษา
คงฤทธิ์ หลาวทอง
อาจารย์ต้นน้ำเดินทางไปสอนคนพิการตามบ้าน เพื่อส่งเสริมอาชีพให้คนพิการสามารถผลิตงานศิลปะ สร้างรายได้เพื่อเลี้ยงชีพโดยไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคม
เปิดตัว “อี ศ า น มี เ ดี ย” และกิจกรรมอื่น ๆ
นิตยสารรายเดือนทางอีศาน เกิดแนวคิดโครงการ “อีศานมีเดีย” ขึ้น เพื่อเป็นช่องทางเพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมและศิลปะของชนชาวไทยในภาคอีสาน
มนุษย์
มนุษย์ฉลาดพอที่จะสร้างพระเจ้า
มนุษย์โง่เขลาพอที่สร้างซาตาน
ไม่รับผิดชอบพฤติกรรมสันดานของตัวเอง.
“การเมือง” เรื่องดีงาม
คำว่า “การเมือง” เป็นคำดี งาน “การเมือง” ก็เป็นงานที่ดีงาม “การเมือง”เกี่ยวข้องทุกเรื่อง และพัวพันกับทุกผู้คนตั้งแต่ลืมตาเกิดจนหลับตาตาย
อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)
หากไม่ใช่เพราะคำว่า “ศรัทธา” แล้วจะเป็นสิ่งใดไปได้ที่ทำให้คนคนหนึ่งมีจิตใจตั้งมั่นถึงขนาดเดินเท้าจาริกไปมนัสการพระธาตุพนม...
ท่องทิพยวิมานอีสานใต้ ประทับไว้ในดวงจิต (๑)
วันที่ ๒๒ – ๒๕ พฤศจิกายน ที่ผ่านมา มูลนิธิทางอีศาน จัดรายการทัศนศึกษาแหล่งโบราณสถานประเภทปราสาทหิน ซึ่งมีสถานะเป็น “ทิพยวิมาน” หรือ “เทวาลัย” ของเทพเจ้าในศาสนาฮินดู