Tag

อะคาเดมีชีวิต

ปรากฏการณ์ภาษาอีสาน

ภาษาอีสานกำลัง “ฮิต” ทั้งในละครทีวี ในเพลงลูกทุ่ง สื่อวิทยุและสื่อสังคม นับเป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ ดาราน้อยใหญ่ที่ไม่ใช่ลูกอีสานต้องหัดออกเสียงสำเนียงอีสานให้ได้ นักร้องลูกทุ่งก็ต้องหาพี่เลี้ยงฝึกฝนจนร้องได้เนียน ๆ เหมือนคนอีสาน

จากอีสานถึงเอมีเลีย

ทางเลือกเพื่อการเกษตรมีหลายทาง อีสานมีปราชญ์ชาวบ้านมากมายที่ทำการเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองไว้เป็นแบบอย่าง ตั้งแต่พ่อมหาอยู่สุนทรธัย พ่อเชียง ไทยดี ที่สุรินทร์ คุณสุทธินันท์ปรัชญพฤทธิ์ คุณคำเดื่อง ภาษี และอีกหลายคนที่บุรีรัมย์ และในทุกจังหวัดในภาคอีสาน

การเรียนรู้และการสืบทอดภูมิปัญญา (๑)

เมื่อประมาณปี ๒๕๒๗ ที่อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น มีการพบปะทุกเดือนของหมอยาพื้นบ้าน ๑๒๓ คน โดยการประสานงานของเรด บาร์นา องค์กรพัฒนาเอกชนต่างชาติดำเนินงานโดยคนไทย โดยมีคุณอภิชาต ทองอยู่ และคุณยงยุทธ ตรีนุชกร เป็นหัวเรือใหญ่

วิญญาณการเมืองอีสาน

“ชุมชนอยู่ในสภาพกึ่งหลับกึ่งตื่นเนื่องจากถูกทำลายความจำ ความรู้เรื่องไทยที่ผ่านมาเป็นแง่มุมของรัฐประวัติศาสตร์ของชุมชนไม่ปรากฏชุมชนถูกลืมไป”

ปลาแดก แซบและดี

เมื่อก่อนนี้ ปลาร้าเป็นอาหารคนจนของคนอีสาน ไม่มีอะไรกินก็ “กินเข่าจ้ำปาแดก” (กินข้าวจิ้มปลาร้า) วันนี้ไม่ใช่ อาหารที่มีปลาร้า อย่างส้มตำ แจ่วบอง แกงพื้นบ้านอีสาน อาหารไทยใส่ปลาร้า ขึ้นเหลาเข้าโรงแรมหลายดาวได้สบายแล้ว

เยาวชนคนมีภูมิ

เด็กเยาวชนมีศักยภาพที่จะเติบโตอย่างมีคุณภาพได้ ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเหมาะสม อะคาเดมีชีวิต (Life Academy) มีแผนงานที่จะทำโครงการพัฒนาเยาวชนคนมีภูมิ ให้มี ๓ ภูมิ คือ ภูมิธรรม ภูมิปัญญา และภูมิฐาน

เหลียวหลังแลหน้า

“คันสิไปเมือหน้าให้เหลียวหลังคืนเบิ่ง มันมะลึดทึดเท่าเซาก่อนซุฟ่าวไป เดินทางไก๋ให้เหลียวหลังแลหน่า ฟ้าฮั่มฮ้องน้องผัดยังคาแอ๋ว”
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com