“๒๔ มิถุนา ๒๔๗๕” ต้นธารประชาธิปไตย
ความหอมหวนของแนวคิดรักชาติ รักประชาธิปไตย ปรารถนาให้บ้านเมืองเจริญทัดเทียมอารยประเทศ แวดล้อมจิตใจคนหนุ่มสาวยุคนั้นให้กระชับมั่นเป็นกลุ่มพวกเดียวกัน ไม่มีสถาบัน ไม่มีรุ่น ไม่มียศชั้น ไม่มีไพร่ผู้ดี มีแต่อนาคตอันสดใสอันเกิดแต่แสงสว่างแห่งรัฐธรรมนูญที่ฉายให้เห็นเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ
รางวัลราชมงคลสรรเสริญกิตติมศักดิ์ ประจำปี 2564
ขอแสดงความยินดีกับบ.ก.ทางอีศาน ปรีดา ข้าวบ่อ
ผู้ได้รับรางวัลราชมงคลสรรเสริญกิตติมศักดิ์ ประจำปี 2564 ด้านวัฒนธรรม วัฒนธรรมทางภาษา
และผู้ได้รับรางวัลทุกท่าน
ประวัติและที่มา ทำไมเวลาคนใกล้สิ้นใจต้องให้ท่องคำว่า “อรหัง”
นับตั้งแต่ยุคต้น ๆ ที่พระมหาเถระนำเข้ามาเผยแผ่ และครอบครัวของนายสมก็ส่งลูกชายเข้าไปบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาด้วย คราวนั้นนายสมได้มีอายุมากแล้วประมาณ ๘๘ ปี เกิดล้มป่วยลงตามอายุขัยของมนุษย์ โรคร้ายได้กำเริบขึ้นทุกวันจนอาการป่วยหนักขึ้นทุกวัน พอถึงวันใกล้จะสิ้นใจตายด้วยอำนาจแห่งกรรมไม่ดีที่ตนกระทำมา โดยเฉพาะกรรมที่ออกป่าล่าสัตว์มาแต่ยังเด็ก
“เห็ดเผาะ” ฤดูน้ำ ฤดูฝน ฤดูคนรักเห็ด
“อ้าวเห็ดแท้ ๆ” พ่อจะพูดแบบนี้เสมอหลังฝนตกได้สองสามวัน แล้วอากาศอบอ้าวจนเหนียวตัวมากกว่าปกติ นี่แหละสภาวะที่พอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเห็ดป่า...เริ่มกันที่...เห็ดเผาะ
สาส์นจาก “ทางอีศาน” – ติดอาวุธทางปัญญา
ตั้งแต่โควิดสิบเก้าเริ่มระบาด องค์กรสายส่งปิดกิจการ ร้านค้าก็ทยอยหยุดธุรกรรม นิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน” จึงต้องระงับการขายตามร้านค้าปลีก จัดพิมพ์เฉพาะสมาชิกและคำสั่งซื้อตรงจากแฟน ๆ ทั่วประเทศตั้งแต่ ฉบับ ๙๖ เดือนเมษายน ๒๕๖๒ และได้ลดจำนวนหน้าลงจาก ๑๖๐ หน้า เหลือ ๑๒๘ หน้า หน้าสี่สีที่มี ๔๘ หน้าก็ปรับเป็นขาวดำทั้งหมด
กำลังใจให้นักสู้คนรากหญ้า
มอบนิตยสารทางอีศาน และหนังสือในเครือบริษัทชนนิยม ให้ห้องสมุดวิทยาลัยเทคโนโลยียางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์