สาส์นจาก “ทางอีศาน” – เถียงนาคือเคหาสวรรค์

แดนอีศานกว้างใหญ่ วงศ์วานว่านเครือเหลือคณานับ แต่ด้วยถูกเอารัดเอาเปรียบ ถูกดูหมิ่นถิ่นแคลน ถูกกดทับทางวัฒนธรรมมาเนิ่นนาน จึงอัตคัดขัดข้องต้องออกไปหาอยู่หากินตามเมืองใหญ่ ถึงกระนั้นยามประเทศประสบวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตสังคม และภัยพิบัติธรรมชาติ ชีวิตหมู่บ้านยังรองรับผู้คนที่แตกพ่ายได้เสมอ

ลักษณะลาว

คำถามที่เกิดขึ้นกับคนโดยทั่วไป เช่นคำถามที่ว่า อะไรคือ ลาว อย่างไรจึงเป็นลาว หรือ อะไรคือ ไทย อย่างไรจึงเป็นไทย คำถามเหล่านี้ดูน่าสนใจ แต่ยากที่จะให้คำตอบที่ได้ความชัดเจน เนื่องจากคำตอบมักจะผูกพันกับความเป็นรัฐ เป็นชาติ (nationstate) ซึ่งเป็นอิทธิพลของฝรั่งชาติตะวันตกที่นำไปเผยแพร่ทั่วโลก

ลาบนก

เมนูอาหารป่า ก็เป็นอีกหนึ่งเมนูที่คนอีสานชอบนัก ไม่ว่าจะเป็นผัดเผ็ดหมูป่า อ่อมบ่าง ซั้วงูสิง ก้อยกะปอม ถือว่าเป็นอาหารชั้นเลิศ แม้สัตว์ป่าบางชนิดเป็นสัตว์ป่าหวงห้าม ผู้ใดมีไว้ครอบครองหรือล่ามาทำเป็นอาหารก็จะมีความผิด! แต่คนบางกลุ่มก็ยังแอบล่าหามารับประทานอยู่เสมอ

“คารคี” ฤๅษีหญิงแห่งโลกตะวันออก

โลกปรัชญาตะวันออกของภารตประเทศหรืออินเดียโบราณได้เคยมีปรากฏการณ์ทางปรัชญาของบรรดานักปรัชญาหญิงในยุคพระเวท (1500-500 BCE) ที่ถือกันว่าเป็นยุคแรกของอารยธรรมอารยันในอินเดีย ชาวภารตะโบราณเรียกนักปรัชญาในยุคนี้ว่า “ฤๅษี” คำว่า ฤๅษี มาจากคำว่า Rishis ในภาษาสันสกฤต ซึ่งหมายถึงฤๅษีชาย ส่วนฤๅษีหญิงนั้นภาษาสันสกฤตใช้คำว่า Rishikas คัมภีร์ฤคเวท (Rig Vedic)
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com