Sticky Postทางอีศาน ฉบับที่ 137นิตยสาร ทางอีศาน13 ก.ย. 2023Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
กลอนลำฮีต-คอง ประเพณีเดือนสิบเอ็ดสุนทร ชัยรุ่งเรือง21 ต.ค. 2021ความโอ่ : โอ่จักหน่อยเถาะยกนี้ให้น้องนี้พี่ฟังเสร็จ ประเพณีเดือนสิบเอ็ดแม่นบุญออกพรรษาสิ้นปวารณาครบไตรมาสสามเดือน จุดประทีปธูปเทียนในมื้อขึ้นสิบห้าคํ่าฟังธรรมพร้อมโอ่ละนอ...นวล ๆ เอย
# เ ปิ ง อี ศ า นนิตยสาร ทางอีศาน15 พ.ค. 2023Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
คำผญา ปรัชญากวี : คนบนหลังเสือยงค์ ยโสธร24 ธ.ค. 2019“เห็นว่าเสือแสนฮ้าย เสือมีลายก็ลายต่าง ไผผู้ขึ้นขี่ได้ ใจต้องกล้ากว่าเสือ” (กลอนห่อผญา)
สงกรานต์ดอกคูณบานรับบ้านไทกอง บ.ก.03 เม.ย. 2015ดอกคูณแย้มระย้าบานอีสานถิ่น เหลืองโพลนทั่วธาณินทร์เวิ้งฟ้าใส บ้างโรยร่วงรอรับคนจากไท จากเหนือใต้กลับบ้านสงกรานต์นี้ แถนเอยช่วยคุ้มครองพี่น้องเฮา ได้กลับเนาแนบบ้านอย่างสุขี เก็บสีแดงอย่าฉีดสาดลาดปฐพี ฉลองปีใหม่ไทยชุ่มฉ่ำเทอญ
๓๖๕ น้ำพริก – ๑. น้ำพริกมะยมกอง บ.ก.18 มิ.ย. 2015ผักจิ้ม ใช้ได้ทั้งผักสด ผักลวก และถ้าอยากอวดแขกที่มากินด้วย ก็ลงทุน ไปตัดดอกเข็มหน้ารั้วเพื่อนบ้านที่เขารวย มาล้างสะอาด คลุกแป้งโกกิ ทอดน้ำมันร้อน ๆ พอเหลือง ยกให้สะเด็ดน้ำมัน นำมาจัดสำรับให้สวย ถ้าเพื่อนบ้านรั้วใหญ่เขาหวงดอกเข็ม
ทำกุ้งจ่อมง่ายๆ สำหรับคนไกลบ้านกอง บ.ก.06 พ.ค. 2014นำกุ้งฝอยใส่ลงไป ตามด้วยน้ำปลา ให้ท่วมตัวกุ้งฝอย เก็บไว้สองคืน เมื่อครบ ๒ คืนแล้ว นำออกมาเทใส่กาละมัง คลุกรวมกันกับข้าวคั่ว แล้วจึงนำกลับใส่ขวดโหลเหมือนเดิม ฝาปิดให้มิดชิด ห้ามแมลงวันเข้าไป ต่อจากนี้ไปอีก ๓ ถึง ๗ วัน จนกุ้งฝอยเริ่มอืด มีกลิ่นหอม ของข้าวคั่ว ก้อใช้ได้แล้ว
ด้ำเสือ ด้ำไท ไทใหญ่ จากอดีตสู่ปัจจุบันนิตยสาร ทางอีศาน19 ม.ค. 2024Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
สรุปเรื่องพระพุทธรูปที่ “วังช้าง” สปป.ลาวนิตยสาร ทางอีศาน03 ก.ย. 2024Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
ฝน | ฟ้า | หนาวปรีดา ข้าวบ่อ06 พ.ย. 2024Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
เส้นทางที่เลือกเดินนิตยสาร ทางอีศาน08 ก.พ. 2019เพลง : เส้นทางที่เลือกเดิน คำร้อง/ทำนอง : ซัน นันธะชัย นักร้อง/นักดนตรี : เบส ไพโรจน์,เชษฐ์ ธัญเทพ
วันคล้ายวันเกิด ปรีดา ข้าวบ่อกอง บ.ก.25 พ.ย. 2013ผละจากอกพ่อแม่เพื่อเขียนอ่าน เรียนวิชาทำการบ้านผ่านฝึกฝน วาดหวังมีงานดีเลี้ยงชีพตน ออกดั้นด้นเดินทางตามโชคชะตา มาพบเพื่อนพบขบวนแห่งมวลมิตร วรรณศิลป์ขีดลิขิตยุคใฝ่หา กิจกรรมงานเคลื่อนไหวยอดวิชา หนุ่มสาวไร้เดียงสามุ่งหน้าไป...
พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย-ลาวสัจภูมิ ละออ23 ธ.ค. 2023Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
สมุนไพรระงับปวดผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท15 ก.ย. 2021“ปวด” คำ ๆ เดียวนี้ ทุกคนได้ยินเหมือนกัน แต่รับรู้ไม่เหมือนกัน คนส่วนใหญ่ไม่ชอบความเจ็บปวด แม้ว่าต้องพบเจอตั้งแต่เกิดจนตาย ความรู้สึกเจ็บปวดเป็นคุณสมบัติอันจำเป็น ที่ทำให้สัตว์ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเอง ถ้าไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดทารกที่เกิดมาคงอยู่รอดได้ไม่เกินหนึ่งวัน
คำผญา (๑)วีระ สุดสังข์09 มี.ค. 2021“มีเงินเต็มภาชน์ บ่ท่อมีผญาเต็มปูม” มีเงินเต็มสำรับ ไม่เท่ามีปัญญาเต็มภูมิ
ประวัติศาสตร์จากสาเกเชื่อมผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท25 ก.ย. 2021ที่อยู่ตรงหน้าผมคือ สาเกเชื่อมถ้วยหนึ่ง ดู ๆ ไปแล้วก็ไม่เห็นมีอะไรพิเศษ ของหวานโบราณถ้วยนี้ พบเห็นได้ไม่บ่อยนัก ในยุคที่ “คัพเค้ก” ครองเมือง สัปดาห์ก่อน ผมขับรถไปพักผ่อนที่ชายทะเลแถวเพชรบุรี แวะซื้อขนมริมทางติดมือมานิดหน่อย หนึ่งในนั้นคือสาเกเชื่อม ราคา ๓ ถุงร้อย ใส่ตู้เย็นไว้หลายวันแล้ว เพิ่งนึกได้ เลยแกะถุงเทใส่ถ้วย นั่งพิจารณาดูอยู่ ณ บัดนี้
ยาพิษแสลงใจผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท17 ก.ย. 2021มนุษย์รู้จักยาพิษ และใช้มันเพื่อปลิดชีพตนเองหรือผู้อื่นมานานนับพันปี ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการฆาตกรรม ยาพิษมีข้อได้เปรียบคือ ไม่เปิดเผย ไม่ร้องเตือน และอาจไม่ทิ้งร่องรอย การประกอบยาพิษและการวางยาพิษ เป็นศิลปะที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ และรอคอยเวลาที่เหมาะสม แต่กว่าเหยื่อจะรู้ตัว ฆาตกรก็เผ่นหนีไปไหนต่อไหนแล้ว หรือไม่ก็แสร้งร้องไห้คร่ำครวญอยู่ข้างศพผู้ตายนั่นเอง
ไปเมืองแถน*นิตยสาร ทางอีศาน07 พ.ย. 2023Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconL...Read More
สกู๊ป งาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ” เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมินิตยสาร ทางอีศาน22 ธ.ค. 2023สกู๊ป งาน ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ” เสวนาวิชาการ เล่าขานเรื่องราวสุวรรณภูมิ เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 30 พฤศจิกายน 2566 ณ ห้อง Auditorium ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรังสิต
หน่อไม้-ต้นไผ่ เรื่องไหนรู้จริงผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท22 ก.ย. 2021แทบไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จักต้นไผ่ เราล้วนเคยเห็นป่าไผ่ กระท่อมไม้ไผ่ ตะกร้าสาน ขลุ่ยไม้ไผ่ ตะเกียบไม้ไผ่ ซุปหน่อไม้ ฯลฯ จนคุ้นเคยแบบหลับตาก็นึกภาพได้ แต่เอาเข้าจริง สิ่งที่เราคิดว่ารู้เกี่ยวกับต้นไม้พื้นบ้านชนิดนี้นั้น จริงเท็จแค่ไหน หวังว่าเรื่องราวต่อไปนี้ คงช่วยตอบคำถามที่หลายคนไม่เคยคิดจะถามได้บ้าง