By

กอง บ.ก.

รถไฟทางคู่สายบ้านไผ่-มุกดาหาร เริ่มก่อสร้าง โครงการก่อสร้างทางรถไฟ ทางคู่ บ้านไผ่ มุกดาหาร นครพนม งบประมาณกว่า 6.6 หมื่นล้านบาท

รถไฟทางคู่สายบ้านไผ่-มุกดาหาร เริ่มก่อสร้างโครงการก่อสร้างทางรถไฟ ทางคู่ บ้านไผ่ มุกดาหาร นครพนม ระยะทาง 355 กิโลเมตร งบประมาณกว่า 6.6 หมื่นล้านบาทเริ่มดำเนินการก่อสร้างในปีนี้ คาดว่าใช้เวลา 4 ปี

เรียนผู้อ่าน นิตยสาร “ทางอีศาน” ทุกท่าน

เนื่องจากรายงานเรื่อง “Muki Story House: บ้านพำนักของนักอ่านนิทาน” โดย นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสาร ทางอีศาน ปีที่ ๑๑ ฉบับ ๑๓๐ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ ไปแล้วนั้น

ทำไมเรียก “ซุบหน่อไม้” ทั้งที่เมนูฮิตในร้านส้มตำนี้ไม่เหมือน soup แบบ “ซุปฝรั่ง”

ตั้งแต่ผมจำความได้ ร้านส้มตำที่บ้านในอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ไม่ได้มีส้มตำมากมายให้เลือกกินเหมือนร้านส้มตำปัจจุบันนี้นะครับ มีแต่ส้มตำมะละกอ ที่ก็มีให้เลือกแค่ตำไทย ตำปูเค็ม ส่วนตำปลาร้านั้นมีน้อยร้านที่ทำ แน่นอนว่ากรณีนี้ สถานที่และชุมชนเจ้าของสถานที่มีส่วนอย่างสำคัญ แต่ที่ผมเห็นมีทุกร้านไม่เคยขาดเลย ก็คือ “ซุบหน่อไม้”

สุดฮือฮา พบรอยเท้าไดโนเสาร์กินเนื้อแห่งใหม่ของประเทศไทย ในพื้นที่วนอุทยานภูแฝก ตำบลภูแลนช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์

เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2566 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑ์สิรินธร สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 2 พร้อมด้วยนายดำรงศักดิ์ ชูศรีทอง หัวหน้าวนอุทยานภูแฝกเข้าตรวจสอบบริเวณบ๋าชาด ในพื้นที่วนอุทยานภูแฝก ตำบลภูแล่นช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ หลังจากมีการแจ้งว่าพบร่องรอยที่คาดว่าเป็นรอยเท้าไดโนเสาร์ จากนายทองดี สุปิรัยทร ชาวบ้านน้ำคำ หมู่ 6 ตำบลภูแล่นช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์

ปิดเล่ม ทางอีศาน 128

สมมุติกาลเวลาปี ๒๕๖๕ กำลังสิผ่านไป ได้เห็นปรากฏการณ์ฟ้าฝนน้ำมาก ที่ลุ่มชุ่มฉ่ำและเสียหาย คนนาดอนข้าวงาม สายน้ำปีนี้ยังชี้บอกว่า ระบบเขื่อนสร้างปัญหาบ่จบให้กับระบบนิเวศ - ธรรมชาติ - มนุษย์

ปิดเล่ม ทางอีศาน 127

สรุปน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่งและท่วมขัง ระหว่างวันที่ ๒๘ กันยายน - ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ เกิดขึ้นในพื้นที่ ๕๙ จังหวัด ๓๒๘ อำเภอ ๑,๕๘๖ ตำบล ๙,๗๗๘ หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ ๔๔๓,๕๑๐ ครัวเรือน [ข้อมูลจากข่าว ๓ มิติ]

เริ่มแล้ว!🎉แคมเปญ History Matters จากอดีตสู่ปัจจุบัน ตั้งแต่วันนี้ – 5 ธ.ค. 65

เริ่มแล้ว!🎉แคมเปญ History Matters จากอดีตสู่ปัจจุบัน ตั้งแต่วันนี้ - 5 ธ.ค. 65 เพียงสั่งซื้อหนังสือใน thaibookfair.com เล่มใดก็ได้ 🎟 รับทันทีคูปองร้านอาหารในเครือ CRG ส่วนลด 15%

ติดตามวงดนตรีอีศานคลาสสิกคณะ “หมาเก้าหาง” ตัวแทนประเทศไทย ร่วมแสดง ณ กรุงนิวเดลลี ประเทศอินเดีย

ติดตามวงดนตรีอีศานคลาสสิกคณะ "หมาเก้าหาง" เป็นตัวแทนประเทศไทยพร้อมวงดนตรีตัวแทนจากอีก 11 ประเทศไปร่วมแสดง ณ กรุงนิวเดลลี ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 18 - 20 พฤศจิกายน ศกนี้

ศุขปรีดา พนมยงค์ กับงานเขียนถึงผู้นำประเทศเพื่อนบ้าน

'ศุขปรีดา พนมยงค์' กับผลงานเขียนอันทรงคุณค่าที่บอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าที่ยังมีลมหายใจ” "หวอเหงียนย้าปจอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์" และ “รำลึก 100 ปี เจ้าชายแดง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิตเจ้าสุพานุวง” ผลงาน 3 เล่มที่ผู้เขียนได้ทุ่มเททั้งแรงใจและแรงกาย ค้นคว้าหาข้อมูล อีกทั้งยังเดินทางไปสัมภาษณ์เรื่องราวเหล่านั้นด้วยตัวท่านเอง

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 127

นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๗ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สหภพ ปานทอง ๐ ทวี รัชนีกร : ปรากฏการณ์แห่งอุดมการณ์สู่งานศิลปะฯ รายงานของ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ‘บท’ ไขปริศนา ‘กำเนิดจามเทวี’ ไขโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ‘แบ่งปัน’ และ ‘จากลา’ บันทึกชีวิตใหม่ ปาริชาติ รักตะบุตร ๐ สมปอง ดวงไสว เล่าเรื่อง ‘อีสานบ้านฉัน’ หนึ่งบันทึกจากปลายพู่กัน อนุวัฒน์ จักรทุม ๐ “เจน อักษราพิจารณ์” รำลึก มลฤดี พรหมจักร : ตำนานลำภูไท “สาวนักเรียนตำตอ” ๐ เรื่องสั้นของ สมพงษ์ สุริโย ~ ๓๙ ปีที่น้ำตาแม่ร่วงหล่นบนลานกกแก

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๖

กรณีวิกฤต “โรคห่าตำปอด” ที่ลามระบาดไปทั่วโลกร่วม ๓ ปีนั้น แหละแล้ววันคืนที่ทุกคนรอคอยก็มาถึง ต้องบันทึกไว้ว่าเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขประกาศยกเลิกโรคโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ นี้เป็นต้นไป

ปิดเล่ม ทางอีศาน 125

บรรยากาศการเมืองช่วงหนึ่งเดือนกว่านี้ จากวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๕ ที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องเพื่อวินิจฉัยเวลาการทำงานของนายกรัฐมนตรีว่าครบ ๘ ปีหรือยัง ไปจนถึงภายในเดือนกันยายน ๒๕๖๕ เรียกได้ว่าอยู่ในภาวะแย่งยื้อไขว่คว้าอำนาจนำของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ

จากใจสำนักพิมพ์แม่คำผาง

เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา คุณทองแถม นาถจำนง ได้พบหนังสือ “ทิพยนิมิต” ฉบับร้อยกรองบทละคร ประพันธ์โดย พลอากาศตรี นายแพทย์ทิพย์ นาถสุภา และเมื่อมีโอกาสจึงนำไปมอบให้อาจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ผู้เป็นบุตรคนเดียวของผู้ประพันธ์ พร้อมทั้งขออนุญาตจัดพิมพ์ อาจารย์ฉัตรทิพย์ดีใจมากที่คุณทองแถมเห็นคุณค่า ประกอบกับท่านกำลังจะจัดพิมพ์หนังสือแจกในงานพระราชทานเพลิงอาจารย์ฉลวย นาถสุภา ผู้เป็นมารดา จึงขอจัดพิมพ์หนังสือ “ทิพยนิมิต” เอง เป็นหนังสือแจกเล่มหนึ่งในงานนั้น

Dam Dialogue 2 บทต่อเต้าความ “มหากาพย์ชนชาติไท”

ในงานเขียนเรื่อง ‘สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท-ลาว และความเป็นไท/ไต/ไทย/สยาม’ อันเป็นบรรพแรกของ “มหากาพย์ชนชาติไท” ศาสตราจารย์พิเศษชลธิรา สัตยาวัฒนา (อาจารย์ชล) ได้สืบสาวความหมายของ ‘ด้ำ’ ที่เชื่อมโยงถึงความเชื่อเก่าแก่หลากหลายนัยยะ เน้นย้ำถึงความสำคัญของคำว่า ‘ด้ำ’ อย่างเป็นพิเศษชนิด ‘ยวดยิ่ง’ ว่าคือ คำต้นเค้าต้นแบบอันเก่าแก่ดึกดำบรรพ์ที่มีอิทธิพลอย่างลึกล้ำต่อการ ‘แรก’ สร้างชุมชนสร้างเมืองของพวกไท-กะได โดยเฉพาะสายไท-ลาว-สยาม
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com