สามชีวิต “ภูมิศักดิ์”
สามชีวิตชูสกุล"ภูมิศักดิ์"
จิตรคือนักรบประชาผู้ใหญ่ยิ่ง
แม่แสงเงินคือแม่ญิงคนจริง
พี่ภิรมย์คือมิตรมิ่งสหายมวล.
รำลึก ภิรมย์ ภูมิศักดิ์ (พ.ศ.2471 – พ.ศ.2555)
วันนี้ครบ ๔ ปีที่จากไปของพี่ภิรมย์ ภูมิศักดิ์ (๑๖ มีนาคม ๒๕๕๕) หวนรำลึกถึงครั้งเคยไปหาพี่ทั้งที่บ้านและที่กระทรวงสาธารณสุข
“การเต้นรำของพระศิวะ : มุมมองของสสารฮินดูในแสงแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่”
“…ครั้งนี้เป็นโอกาสเดียวและโอกาสสุดท้ายของเจ้าที่จะได้ประจักษ์ความจริงอันไม่คลอนแคลนเสียที เจ้าจงดูท่าอันข้าจะแสดงให้เห็นเป็นครั้งแรกในกาลบัดนี้ เจ้าจะได้แลเห็นการสร้างโลกและการทำลายโลกปรากฏอย่างชัดแจ้งในมหานาฏยะ คือการฟ้อนรำอันยิ่งใหญ่ของข้า แล้วเจ้าจะรู้ว่าเจ้าคือใคร ข้าคือใคร และสกลจักรวาลทั้งหมดนี้คือใคร ผู้ที่ได้เห็น ผู้ที่ได้ยิน จะเข้าถึงความจริงแห่งพระเจ้า เขาผู้นั้นจะไม่มีวันตกต่ำเสื่อมถอยสู่สภาพต่ำทรามอีกเลย เพราะเขาจะถึงความหลุดพ้นทุกข์ชั่วนิรันดร เนื่องจากเขาได้ถึงความจริงนี้แล”
อ.ราชภัฏร้อยเอ็ด จี้หน่วยงานรัฐเลิกยัดเยียด-ผลิตซ้ำ ‘เมืองสิบเอ็ดประตู’ ใช้ภาษีเผยแพร่ข้อมูลไร้หลักฐานรองรับ
เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญ รสจันทร์ อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เผยแพร่แถลงการณ์ ในฐานะผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด เรียกร้องให้หน่วยงานราชการยุติการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นความจริง เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดร้อยเอ็ด กรณี ‘เมืองสิบเอ็ดประตู’ ซึ่งถูกหักล้างไปนานกว่า 10 ปีด้วยข้อมูลทางวิชาการของนักภาษาโบราณ กรมศิลปากร แต่กลับยังคงมีการใช้ข้อมูลดังกล่าวอยู่ในปัจจุบัน
ลอกคราบค่านิยม
ข้าราชการตำรวจเป็นตัวแทนองค์กรอำนาจรัฐที่ทำงานใกล้ชิดติดกับประชาชนพลเมืองมากที่สุด มีหน้าที่ดูแลความสะดวก รักษาความปลอดภัย ป้องปราบปรามและกำจัดเหล่าร้ายไอ้ศัตรูทั้งปวง
ร้อยเอ็ดมาจากไหน
“ร้อยเอ็ด" มาจากไหน? ทำไมไม่ใช่ "สิบเอ็ด"? (จากหนังสือพิมพ์มติชนรายวันฉบับวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2553)
จิตวิญญาณครู
แม้เป็นวันหยุด แต่ครูศุภสิทธิ์ อวยชัย แห่งโรงเรียนโพนงามหนองน้ำกิน อ.หนองพอก จ.ร้อยเอ็ด ก็พาลูกและลูกศิษย์ ~ ด.ญ.จุฑารัตน์ อวยชัย, ด.ญ.กัญญาภัค - ด.ญ.กัญญาวีร์ ไชโย [ฝาแฝด] และ ด.ช.รัตนธรรม สุขรัตน์ มาฝึกวาดรูปร่วมกับศิลปิน
แด่… เยาวมิตร
๐ แด่เธอเยาวมิตร
เมื่อเธอรักการคิดการอ่านเขียน
เมื่อเธอมุ่งมั่นขยันร่ำเรียน
อนาคตจักแปลงเปลี่ยนด้วยมือเธอ
ทีมงาน “หมาเก้าหาง” ขึ้นเชิญธง “ทางอีศาน”
..เกิดเป็นคนทุกคนมีรากเหง้า ต้องรู้ปัจจุบันเราให้ถูกแน่
อนาคตต้องเท่าทันหมั่นดูแล ถูกหรือผิดปรับแก้กล้าจริงจัง
ล่วงหน้า 75 ปี ~ สุรสีห์ ผาธรรม
ล่วงหน้า 75 ปี ~ สุรสีห์ ผาธรรม
ตัวละครในฮูบเงาเหงางอมหนัก
ชีวิตจริงยังคึกคักยังเข้มแข็ง
75 ปี "สุรสีห์" มีเรี่ยวแรง
ยังรื้อแปงปรับสร้างหนทางไป
ชาติพันธุ์วรรณนา
“ไม้ ต้น เดียว บ่ เป็น ดง. คน ผู้ เดียว บ่ เป็น บ้าน.”
[คำไตแต่ดึกด้ำบรรพ์]
[ร่างที่สอง] เชิญเที่ยวแอ่งอารยธรรมภาคอีศาน ครั้งที่ 4
[ร่างที่สอง] เชิญเที่ยวแอ่งอารยธรรมภาคอีศาน ครั้งที่ 4 “เลาะเลียบริมฝั่งแม่น้ำโขง” ระยะทาง 800 กิโลเมตร จาก จ.เลย ถึง จ.อุบลราชธานี | เดินทางสบาย ๆ 6 วัน 5 คืน | 22 ~ 27 กุมภาพันธ์ 2566 โดย นิตยสาร|มูลนิธิ|”ทางอีศาน”
[ร่างแรก] เชิญเที่ยวแอ่งอารยธรรมภาคอีศาน ครั้งที่ 4
[ร่างแรก]
เชิญเที่ยวแอ่งอารยธรรมภาคอีศาน ครั้งที่ 4 "เลาะเลียบริมฝั่งแม่น้ำโขง" ระยะทาง 800 กิโลเมตร จาก จ.เลย ถึง จ.อุบลราชธานี | เดินทางสบาย ๆ 6 วัน 5 คืน | 22 ~ 27 กุมภาพันธ์ 2566 โดย นิตยสาร|มูลนิธิ|"ทางอีศาน"
ยิ้มรับปีใหม่
ยิ้มจากความไร้เดียงสา ยิ้มโดยธรรมชาติ ยิ้มจากพลังบวก แม้เพียงปรากฏที่มุมปาก ที่ดวงตา ยิ่งยิ้มทั้งใบหน้า ย่อมทำให้ผู้รับสารและแม้กระทั่งโลกทั้งใบสดชื่นแจ่มใสมีชีวิตชีวาทันที
ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง
วันที่ ๙ สิงหาคมของทุกปี สหประชาชาติกำหนดให้เป็นวัน “ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของโลก” ปัจจุบันชนเผ่าพื้นเมืองมีสัดส่วนร้อยละ ๖.๒ ของประชากรโลก มีภาษาพูดกว่า ๔,๐๐๐ ภาษา (ทั้งโลกมีภาษากว่า ๗,๐๐๐ ภาษา) ซึ่งภาษาจำนวนมากนี้กำลังเสี่ยงต่อการสูญหาย ดังนั้นจึงเกิดโครงการ “ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง (พ.ศ.๒๕๖๕ - ๒๕๗๕)” ขึ้น โดย ยูเนสโก (UNESCO) - องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เป็นผู้รับผิดชอบ