Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

ดนตรี วิถีผู้ไท ในมนต์เสน่ห์บ้านสวนนอเวียง – รสสา

ผืนนาลุ่มชุ่มน้ำของบ้านสวนนอเวียง – รสสา มีบ่อน้ำใสสะอาดอยู่ติดกับลำห้วยสายบ่อแก อันเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านบ่อสะอาด เป็นบ่อน้ำซับธรรมชาติที่ผุดขึ้นจากใต้ดินตลอดปี หล่อเลี้ยงชีวิตบรรพบุรุษชาวผู้ไท

ภาพพระบฏ

“พระบฏ” ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้น และแขวนไว้เพื่อบูชา คำว่า “บฏ” มาจากคำในภาษาบาลีว่า ปฏ (อ่านว่า ปะ-ตะ) แปลว่า ผ้าทอ หรือผืนผ้า

แถน ในตำนานอุรังคธาตุ

แม้ว่า ตำนานอุรังคธาตุจะเป็นเรื่องราวของราชวงศ์กับพุทธวงศ์ แต่ในเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ล้านช้าง ไม่อาจปฏิเสธการก่อร่างสร้างอาณาจักรตามคติแถน ซึ่งเป็นความเชื่อดั้งเดิม ก่อนที่จะถูกซ้อนทับกลืนกลายด้วยคติพุทธ

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๑ (๕)

เมื่อ ๖ เดือนก่อน...ฉันได้รับอีเมลสำเนาเอกสารใบลานเรื่อง “ตำนานธาตุหัวอกพระเจ้า” ของวัดใหม่สุวรรณภูมาราม เมืองหลวงพระบาง จากพระอาจารย์ไพวัน มาลาวง

มะละกา : จารึกผ่านรอยจำ น้ำตา และสายเลือด

แม้นมิอาจเดินทางไปสัมผัสอาณาเขตของโลกมลายูได้ทั้งหมด “มะละกา” ที่ข้าพเจ้าได้สัมผัสกลับนับเป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดสำคัญของความเป็นมลายู นอกจากเป็นหนึ่งในต้นธารการก่อเกิดของคำ “โลกมลายู” แล้ว ยังเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า ๖ ศตวรรษ

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : พญานาคเกเรแห่งรอยพระพุทธบาท หมายเลข ๓ (๔)

หลวงพ่อเจริญเจ้าอาวาสวัดป่าแห่งหนึ่งในอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ที่ฉันให้ความเคารพเคยบอกไว้ตั้งแต่ยังเป็นเพียงเด็กสาวอ่อนเดียงสา เพราะเห็นว่าชอบอ่านนิทานพื้นบ้านตำนานต่าง ๆ ราวกับท่านได้เล็งเห็นว่าหากมีวิชาความรู้ก็เหมือนมีทรัพย์ที่จะได้ใช้ในอนาคต

หลวงพ่อคูณ : เทพเจ้าด่านขุนทด ในความทรงจำ

แม้ว่าร่างกายสังขารวิญญาณ พระเทพวิทยาคม หรือหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ จะสลายร่างลับล่วง แม้เถ้าถ่านก็ละลายไปกับสายแม่น้ำโขง ทำไมพระบ้านนอกธรรมดา ๆ องค์หนึ่งจึงยังคงอยู่ในหัวใจอยู่ในความทรงจำของพุทธศาสนิกชน

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – บทนำ

“ทวดคือพ่อของปู่” สีโหเอ่ยชื่อบรรพบุรุษ “จารย์บุญคือ ทวดของปู่เฮือง...” “ถูกต้องแล้ว” แกบอกสีโห “ผมคือหลานแท้ ๆ ของจารย์แก้วกับย่าแพง”

อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : สู่เมืองหนองหานหลวง (๓)

แม้ในวันเดินทางจะมีฝนหลงฤดูตกกระหน่ำลงมาในช่วงเดือนธันวาคม แต่อุปสรรคเพียงแค่นี้ก็ไม่สามารถทำลายความตั้งใจในการไปนมัสการรอยพระพุทธบาทของฉันได้

ทำไมอำเภอวังสามหมอ จึงได้ชื่อว่าวังสามหมอ

ในแผ่นดินสมัยนี้แดนดินถิ่นวังสามหมอยังเป็นป่ารกทึบ มีขุนเขา ลำห้วย มากมาย ยากที่จะหาผู้ใดมากล้ำกรายได้ จึงไม่มีผู้ใดรู้จัก จนกระทั่งหน่วยล่าจระเข้ของพระยาสุทัศน์ แห่งเมืองท่าขอนยาง มาพบเข้า

รับรู้อารยธรรมลุ่มแม่น้ำโขง สืบสาวอารยชนพงศ์เผ่าไท-ไต

เนื่องจากมีผู้อ่านชาวเวียดนามสนใจโพสต์นี้กันมาก และขอให้เขียนย่อเป็นภาษาอังกฤษ โดยแจ้งว่า อ่านพบชื่อและการอ้างงานเขียนของอาจารย์ชลในหนังสือวิชาการของเวียดนามซึ่งกำลังถกเถียงโต้แย้งกันในเรื่องที่มาของ “ความเป็นเวียด vs ความเป็นไท”

รำลึก ๑๒๙ ปีชาตกาล และกึ่งศตวรรษอสัญกรรม “ลุงโฮ” วีรบุรุษแห่งอัมนัม (๑)

นับย้อนหลังพุทธศักราช ๒๕๖๒ ไปกึ่งศตวรรษ หรือ ๕๐ ปี ตรงกับวัน ๒ กันยายน ๒๕๑๒ เป็นวันเวลาแห่งการสูญเสียครั้งสำคัญของประชาชาติเวียดนาม เมื่อมีข่าวยืนยันว่าท่านประธานาธิบดีโฮจิมินห์ หรือที่ชาวเวียดนามเรียกขานด้วยความเคารพนับถือท่านดั่งญาติสนิทว่า “บัคโห่” หรือ “ลุงโฮ” ถึงแก่อสัญกรรมแล้วในวัย ๗๙ ปี

การศึกษา “ประวัติศาสตร์ไทย” จาก “ข้อมูลลายลักษณ์” สู่ “เวทีการแสดง” ของนักศึกษาวิชาชีพครู

การทำงานละครในครั้งนี้ อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาเป็นเจ้าของงานอย่างแท้จริง โดยนำองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนการสอน รวมถึงค่ายละครมาใช้ทำงานจริง

ลมหายใจแห่งอดีตที่ “นราธิวาส-เบตง”

“แบปา” ผู้ซึ่งได้พบเจอและเป็นผู้บอก เล่าข้อมูลพื้นฐานของชาวพื้นเมืองดั้งเดิมแห่งโลกมลายูให้ได้รับรู้ เป็นคนที่ นายสมศักดิ์ คณาคำ นายอำเภอจะแนะ ช่วยประสานให้ครั้งที่ข้าพเจ้าเดินทางไปขอข้อมูล ณ ที่ว่าการอำเภอจะแนะ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ถือเป็น “ข้อต่อ” สำคัญที่ทำหน้าที่เชื่อมผู้คนในอดีตกับปัจจุบันให้ได้เจอกัน
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com