หมาเก้าหาง..ดนตรีอีศานคลาสสิก
มีใครเคยได้ยินเรื่องราวความเป็นมาของ “หมาเก้าหาง” บ้างไหมครับ ? คำว่า “หมาเก้าหาง”อาจจะไม่ใช่คำที่คนทั่ว ๆ ไปคุ้นเคยมากนัก แต่หมาเก้าหางนั้นมีความสำคัญในเชิงวัฒนธรรม ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สืบทอดต่อกันมาแต่โบราณ เรื่องราวของหมาเก้าหางจะมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้คนอย่างไร เราไปค้นหาคำตอบพร้อมๆกันครับ
คำโตงโตย
“ฮ้อนกว่าไฟ ได้แก่ใจ ปกติของใจ นึกจะทำอะไรก็อยากจะทำเร็ว ๆ อยากจะให้เสร็จเร็ว ๆ ที่ว่าไฟฮ้อนก็ไม่ฮ้อนเท่าใจเพราะไฟธรรมที่ว่าร้อน ก็เผาได้แต่เฉพาะกาย
ศิลปะลพบุรี
ศัพท์ทางวิชาการทุกแวดวงมีปัญหาอยู่เสมอ เช่นในแวดวงประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย ก็มีเรื่องยังหาข้อสรุปให้
เมืองนครจำปาศักดิ์
เมื่อพ.ศ.๒๓๕๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้ง เจ้าหมาน้อย บุตรเจ้าราชวงศ์ (สุริโย) หลานเจ้าสร้อยศรีสมุทฯ เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ ให้ เจ้าธรรมกิติกา บุตรอุปฮาด (ธรรมเทโว) เป็นเจ้าอุปฮาดรักษาเมืองนครจำปาศักดิ์...Read More
พญาปริสุทธเศวตหัสดีลิงค์ น้อมส่งพระเทพวิทยาคม
เป็นเวลา ๓ ปี นับจากพระเทพวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ) ได้มอบสรีระสังขารเพื่อเป็นครูใหญ่ ของคณะแพทยศาสตร์
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)
“ฮู้จักพระวอพระตาไหม เจ้ากินเกลือบ้านได๋ เคยไปเอาบุญพระธาตุบ่”
เป็นคำถามที่ ผศ.อมฤต หมวดทอง อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้เสมอในยามที่ออกไปเก็บข้อมูลภาคสนามในเรื่องเกี่ยวกับแหล่งเกลือในภาคอีสาน และมักได้ฟังเรื่องเล่าเก่าก่อนเป็นผลพลอยได้
สุภาษิตโบราณ (๕)
๑๖) พากย์เพรงโลกสรดี ๑๖) คำโบราณท่านกล่าว ถากุมบีจิญจิมขลา ว่าอย่าให้เลี้ยงเสือ
แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลือง อุบลราชธานี
แหล่งโบราณคดี บ้านก้านเหลือง มีพื้นที่ขนาดใหญ่ราว ๆ 3 ตร.กม.พิกัด 15°16'42.4 “N 104°51'18.7” E
ตามรอย “พ่อหลวงรัชกาลที่ ๙” และ “แม่ของคนไทย” บนผืนป่าต้นน้ำและสายธารน้ำตกใน “โรงเรียนห้วยสวายวิทยา”
“ค่ายศิลป์รักษ์ป่า” (ห้วยสวาย) จัดขึ้นโดยสาขาสาธารณชุมชน วิทยาศาสตร์การอาหาร ชมรมศิลป์สัมพันธ์ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม
อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)
หากไม่ใช่เพราะคำว่า “ศรัทธา” แล้วจะเป็นสิ่งใดไปได้ที่ทำให้คนคนหนึ่งมีจิตใจตั้งมั่นถึงขนาดเดินเท้าจาริกไปมนัสการพระธาตุพนม...
การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม
ในบทนี้ จะได้นำเอาเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน และข้อห้าม ต่างเวลาต่างสถานที่กัน มาผูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสังคมที่เจ็บปวดรวดร้าว
ทำไมต้องตั้งศาลให้ผีตาแฮกสถิตอยู่
กาลอันล่วงเลยมาสามารถกำหนดช่วงเวลา กำหนดวัน กำหนดเดือน กำหนดปีที่เกิดเหตุการณ์ได้ และสามารถที่จะกำหนดเป็นศตวรรษได้
สุภาษิตแขมร์ ฉบับ พ.ศ. ๒๔๖๗
สุภาษิตโบราณ พากย์เพรงโลกสรดี คำโบราณท่านกล่าว ถากุมบีจิญจิมขลา ว่าอย่าให้เลี้ยงเสือ พากย์เพรงโลกอปมา
The Dawn of the Tai วิธีวิทยาเจาะเวลาหา ‘ยุคเพรางาย’ ~ อรุณรุ่งของชนชาติไท (๓)
แม้วัน-เวลาจะเป็นสิ่งสมมติ...แต่มนุษย์เมื่ออยู่ร่วมกันเป็นสังคม จำเป็นต้องหมายรู้ กำหนดวาระสำคัญ นัดหมาย เพื่อพบปะกันทำกิจกรรมบางอย่างร่วมกัน หนุ่มสาวบางคู่อาจมี “วันนัด” พบกันเปิดเผยในคืนเดือนเพ็ญ เช่นที่ผู้บ่าวไท-ไต-ลาว ไป “แอ่วสาว” ที่ตนหมายตาไว้
“ไพบูลย์ บุตรขัน” ร้อยปีมีหน คนเพลงมหัศจรรย์
ผมเกิดและเติบโตในเมืองกรุง จะได้เห็นชนบทก็ตอนปิดเทอม ได้ไปเที่ยวบ้านก๋ง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของพ่อ ณ ริมคลองบางพระ ฉะเชิงเทรา ชาวบ้านย่านนั้นส่วนใหญ่มีอาชีพเลี้ยงไก่ไข่ คำว่า “บ้านนอกคอกนา” ที่แท้จริง จึงไม่มีในจินตภาพของผมเลย