Category

บทความ

ขับ ลำ เพลงลาว

ผมชอบคำว่า “ถ่ายคำ” แทนคำว่า แปล เพราะภาษาไทย ภาษาลาว ทั้งสำนวนและตัวอักษรใกล้เคียงกัน ผมอ่านหลายรอบ แรก ๆ อ่านในใจคิดตาม เป็นสำเนียงสำนวนไทย ต่อมาอ่านเป็นสำนวนสำเนียงอีสาน อรรถรสที่ได้แซบและลึกต่างกัน แต่ความหมายไม่เปลี่ยน

สดุดีโอลิมปิกเกมส์, ญี่ปุ่น

ท่ามกลางวิกฤติโรคห่าใหญ่ทั่วโลก ยอดจำนวนผู้ป่วยไข้และล้มตายพุ่งสูงขึ้นมากขึ้น ประเทศญี่ปุ่นยืนหยัดจัดกีฬาแห่งมนุษยชาติได้สำเร็จ

ความยากจนและเครื่องชี้วัด

เรื่อง “ความยากจน” นั้น เมื่อจะพูดกันควรทำข้อตกลงกันไว้ก่อนให้ชัดเจน ว่าผู้พูดกำลังจะพูด “ด้านใด” ของเรื่องความยากจน และความหมายเรื่อง “ความยากจน” ที่กำลังจะกล่าวถึง

สื่อสารกันคลาดเคลื่อน

บริษัทยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่ง ทำหนังสือถึงเจ้ากระทรวงที่ทรงอำนาจ ขออนุเคราะห์จัดสรรวัคซีนให้พนักงานและครอบครัว ในขอบเขตทั่วประเทศรวมจำนวนกว่า 70,000 คน บริษัทนี้มีกิจกรรมเอกอันหนึ่ง ได้แก่ตระเวนสอนให้ชาวบ้านรู้จักเศรษฐกิจและใช้ชีวิตพอเพียง

ทำไมคนต้องมีรากเหง้า

ทำไมการพบ 215 ร่างเด็กใต้บริเวณโรงเรียนประจำทางตะวันตกของแคนาดาจึงเป็นเรื่องใหญ่ ที่นายกรัฐมนตรีทรูโดบอกว่า “เป็นข่าวเศร้าที่ทำให้หัวใจสลาย เป็นประวัติศาสตร์ที่มืดมิดของแคนาดา”

ปรากฏการณ์ลุงพล (๒)

กรณีลุงพลเป็นวัฒนธรรมชาวบ้าน “เก่าแต่ใหม่” เพราะเดิมทีแต่ไหนแต่ไรก็มีวัฒนธรรมเช่นนี้ในสังคม เกิด “กระแส” ไม่ว่าข่าวลือข่าวจริงที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว บางกระแสทำให้เกิดผู้ดีผู้ร้าย เกิด “ฮีโร่” เกิด “ไอดอล” หรือเกิด “ฆาตรกร” ที่สังคมด่วนตัดสินเป็นศาลเตี้ยเสียเอง กรณีลุงพลเป็นทั้งสองอย่าง

ปรากฏการณ์ลุงพล (๑)

นับเป็น “วัฒนธรรมชาวบ้าน” (popular culture) “เก่าแต่ใหม่” ที่น่าสนใจ น่าทำความเข้าใจ น่าให้บทเรียน จากชาวบ้านธรรมดาที่ไม่มีอาชีพเป็นหลักแหล่ง ทำงานรับจ้างทั่วไป บ้านเก่ายังไม่มีฝา หลังคามุงสังกะสี วันดีคืนดี กรณี “น้องชมพู่” ทำให้ลุงพลป้าแต๋นกลายเป็นคนเด่นคนดังประหนึ่งดารา มีรายได้มากมายไม่น่าเชื่อ

เมืองเพีย ชุมชนโบราณในอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น

จากข่าวท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่นระบุว่า มีนักโบราณคดีอิสระได้ทำการขุดหลุมเพื่อวางเครื่องมือในการเดินท่อน้ำมันของบริษัทน้ำมันแห่งหนึ่งตามแถวถนนสายมัญจาคีรี - ขอนแก่น บริเวณบ้านเมืองเพีย

อาหรับยิวรบกันสามพันปี (2) ร้อยปีที่รบหนัก

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) อังกฤษได้ขอให้ขบวนการไซโอนิสต์ของยิวช่วยรบเพื่อจัดการกับจักรวรรดิ์ออตโตมาน โดยสัญญาว่าเสร็จสงครามจะหาบ้านเมืองให้อยู่ถาวรในถิ่นที่ของปาเลสไตน์

อาหรับยิวรบกันสามพันปี (1)

เพื่อทำความเข้าใจกับสถานการณ์สู้รบระหว่างปาเลสไตน์กับอิสราแอลวันนี้ คงต้องย้อนไปถึงสามพันกว่าปีที่ความขัดแย้งเริ่มต้น และสู้กันเรื่อยมา ขอแบ่งประวัติศาสตร์ตามเวลาดังนี้ ช่วงที่หนึ่ง สามพันปีที่แล้วจนถึงศตวรรษที่ 1 จาก “อาบราฮัม” ถึง “พระเยซู” ช่วงที่สอง ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 ที่ยิวอพยพย้ายถิ่นไปทั่วโลก ช่วงที่สาม ตั้งแต่เริ่มก่อเกิดรัฐอิสราแอลเมื่อร้อยปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน

แนะนำหนังสือหายาก “ภารตนิยาย” และ “อาจารย์ผม” 

เกร็ดเล็กเกร็ดใหญ่ แวดล้อมอาจารย์ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แวดล้อม"ภารตนิยาย" และแวดล้อมท่านผู้เขียน แต่ละเกร็ดควรแก่ความสนใจครับ

คามูส์ (๒)

รัฐบาลไทยและผู้รับผิดชอบนโยบายการป้องกันควบคุมโควิด-19 โปรดอ่านหนังสือเล่มนี้ เพราะไม่ว่าโควิด กาฬโรค หรือโรคห่า มีปัญหาเดียวกัน คือ “ไม่ว่าโรคระบาดหรือสงคราม ผู้คนก็ไม่เคยเตรียมพร้อมรับมือ” (คามูส์)

บทเรียนวิธีสู้โควิดดีที่สุด

วิกฤติโควิดเป็นโอกาสให้ได้เรียนรู้อย่างน้อยเรื่อง “สุขภาพ” ว่ามีวิธีคิดสำคัญอยู่ ๒ แบบ ที่ครอบงำโลกนี้มานาน แบบที่หนึ่ง คือ แบบโบราณที่สืบสานกันมาจนถึงทุกวันนี้ที่มองว่า คนป่วยเพราะสุขภาพไม่แข็งแรง ไม่สมดุล ร้อนไปเย็นไป ธาตุแตก ต้องพัก ต้องล้มหมอนนอนเสื่อ อันนี้ไม่พูดถึงว่า ผีทำ

ไทยยูโธเปีย

คอลัมน์อะคาเดมีชีวิต “ทางอีศาน” ฉบับ เม.ย.64 ผู้รู้ ใช้นามปากกา “เสรี พพ.” เขียนถึง “ไทยยูโธเปีย ภาพนิมิตไทย” ในภาพนิมิตนั้น เมืองไทยจะไม่มีความยากจนและความเหลื่อมล้ำมาก เพราะจะมีอย่างน้อย ๓ อย่างเกิดขึ้น ผนึกพลังกัน เหมือนปี ๒๐๐๗ มีเทคโนโลยีหลายอย่างผสานกัน เกิดสมาร์ทโฟน สังคมเปลี่ยนหมดทั้งรูปแบบและเนื้อหา

อัลแบร์ต คามูส์ (๑)

อัลแบร์ต คามูส์ (Albert Camus 1913-1960 ) นักคิด นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ นักต่อสู้เพื่อการปลดแอกจากอำนาจเผด็จการ เขาเป็นสัญลักษณ์ของวิญญาณขบถ หนังสือ “คนนอก” (L'Étranger) เป็นคัมภีร์แห่งการลุกขึ้นต่อต้านอำนาจที่กดขี่ ไม่ว่ารูปแบบใด
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com