Category

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

กู่สันตรัตน์ มณีแห่งนครจำปาศรี

เมืองโบราณ นครจำปาศรี อยู่ในพื้นที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ตัวเมืองมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงมุมมน กว้างประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร และยาวประมาณ ๒,๗๐๐ เมตร

ประวัติและที่มา ทำไมจึงมีโรคและมียารักษา

กาลครั้งนั้นแล บนโลกนี้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ได้อาศัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สรรพสิ่งบนโลกมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาชั่วกาลนาน แต่อยู่มาวันหนึ่งทุกสิ่งทุกอย่างก็เริ่มแปรเปลี่ยนไป เริ่มมาจากความโลภความโกรธและความหลงของมนุษย์ เป็นตัวแปรที่สำคัญในการทำให้สรรพสิ่งบนโลกนี้เปลี่ยนแปลงไปด้วย

ว่าด้วยวัฒนธรรม

“วัฒนธรรมเป็นองค์รวมที่สลับซับซ้อนรวมไปถึงวิทยาการ ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรมกฎหมาย ขนบประเพณี ความสามารถ และความเคยชินทั้งปวงที่มนุษย์ได้รับจากสังคม” - E.B. Tylor

ประเด็นประวัติศาสตร์ เหตุเกิดที่วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

ในรัฐสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2444 เจ้าฟ้ากรมพระยานครสวรรค์วรพินิจ ได้เสด็จจากเมืองโคราชจะไปยังเมืองศรีโสภณผ่านมาที่ด่านปะคำ

ประวัติโบสถ์ไม้วัดโพธิ์ย้อย อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์

จากการสอบถามคุณยายยวง แป้นดวงเนตร ผู้เฒ่าผู้แก่เมื่อก่อนนั้นเล่าว่า เมื่อสมัยยายยังเป็นเด็ก ยายยังมีทวดอีกหลายคนและญาติพี่น้องในหมู่บ้าน เช่น ทวดคง ทวดมาก แม่เฒ่าเกิด การเขียนรายชื่อเหล่านี้เพื่อบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้กับบุคคลที่ล่วงลับ และคุณยายบอกว่าพ่อของคุณยายเคยอุ้มไปที่วัดโพธิ์ย้อย

จ.บุรีรัมย์ มีปราสาท|กู่โบราณสมัยขอม มากที่สุดในประเทศไทย

วันนี้เดินทางไปชื่นชม"ปราสาทโคกงิ้ว" อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์ ทีมช่างกำลังลุยปรับปรุง ทำงานกันมาได้ 4 เดือนแล้ว ภายในต้นปีหน้าคงเสร็จสมบูรณ์

อุโบสถไม้ที่วัดโพธิ์ย้อย

วัดโพธิ์ย้อย ตำบลไทยเจริญ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ริมถนนสาย 224 ใกล้สามแยกปะคำ ภายในวัดมีอุโบสถไม้หลังเก่าซึ่งสร้างซ้อนทับลงบนฐานศิลาแลงสูงเด่น

พระธรรมบาล ประติมากรรมขอม

ธรรมบาล แปลว่า ผู้รักษาธรรม หรือผู้พิทักษ์ธรรม ในทางพุทธศาสนา พระธรรมบาล (สันสกฤตว่า ธรฺมปาลมฺ, Dharmapala) หมายถึง ผู้ปกป้องหรือพิทักษ์พระธรรมคำสอน อาจเป็นเทพ นาค คนธรรพ์ กินนร ยักษ์ ทั้งเพศชายและหญิง เรื่อยไปจนถึงภูตผีก็ได้ มีใจเคารพพระรัตนตรัย ยอมรับหน้าที่ที่จะดูแลคำสอน ธรรมสมบัติ ขับไล่ผีร้ายและอุปสรรคขัดขวางการปฏิบัติธรรม และช่วยเหลือผู้ปฏิบัติ

มอม, ตัวมอม, สิงห์มอม หมายถึงอะไร ?

ปัจจุบันนี้คงหาคนอธิบายได้ยาก มอม คือสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ มีรูปร่างลักษณะผสมระหว่าง สิงห์ เสือ แมว ค่าง นิยมทำเป็นประติมากรรมเฝ้าพุทธสถาน (ล้านนา, อีสาน, ลาว) และลายสักขา (อีสาน)

เรื่องจากปก : สัก (สับ) อีสาน สนทนา

นี่อาจเป็นครั้งแรกที่คุณได้ยินคำว่า “สั บ ขา ลา ย” ชาญพิชิต พงศ์ทองสำราญ ศิลปินหนุ่มเลือดอีสานผู้หลงใหลในรอยสัก และมองเห็นคุณค่าของงานสัก ได้ใช้เวลากว่า ๕ ปี ออกเดินทางทั่วประเทศ เพื่อตามหาและบันทึกประวัติศาสตร์ของงานสักขาลายรุ่นสุดท้ายไว้...

เยี่ยมพิพิธภัณฑ์ หนูฮัก พูมสะหวัน “หนึ่งในวีรบุรุษแห่งอารยธรรมลุ่มน้ำโขง” สืบสานความสัมพันธ์สองฝั่งโขง

เยี่ยมพิพิธภัณฑ์ หนูฮัก พูมสะหวัน “หนึ่งในวีรบุรุษแห่งอารยธรรมลุ่มน้ำโขง” สืบสานความสัมพันธ์สองฝั่งโขง
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com